Page 32 - เปรียบเทียบพันธุ์หญ้าแฝกและพืชคลุมดินต่อการฟื้นฟูและการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน
P. 32

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                       16



                                    3.2.2 มวลชีวภาพรากของหญาแฝกที่อายุ 24 36 และ 48 เดือน สําหรับการขุดราก
                       หญาแฝกดังวิธีการที่อธิบายในหัวขอการดําเนินงานวิจัย โดยนํารากหญาแฝกที่ลางน้ําจนสะอาดแลว
                       มาวัดความยาวและชั่งน้ําหนักสด แลวนําไปอบที่อุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียส เปนเวลา 24-72 ชั่วโมง
                       จนกระทั่งน้ําหนักคงที่ จากนั้นชั่งน้ําหนักแหง และนํารากที่อบแหงแลวสงวิเคราะหปริมาณธาตุอาหาร

                       ในหองปฏิบัติการ ไดแก ปริมาณไนโตรเจน (N) โดยวิธีการ Kjeldahl method ปริมาณฟอสฟอรัส ใช
                       วิธีการ Colorimetry ปริมาณโพแทสเซียม ใชวิธีการ Flame emission spectrophotometry
                                    3.2.3 การเก็บขอมูลการเจริญเติบโตของหญาแฝก วัดความยาวใบตั้งแตโคนถึงปลาย
                       ใบของใบที่โตเต็มที่ ที่อายุ 24 36 และ 48 เดือน โดยเก็บตัวอยางในแถวหญาแฝกของแตละแปลง

                       ทดลอง ๆ ละ 3 ซ้ํา สวนการเก็บขอมูลการเจริญเติบโตของพืชคลุมดินจะเก็บชวงเวลาเดียวกับ
                       หญาแฝก ในพื้นที่ 1 ตารางเมตร วัดความยาวเถาของถั่วปนโต และวัดความสูงของตนถั่วเวอราโน
                                    3.2.4 มวลชีวภาพของถั่วเวอราโน ตัดแตงกิ่งถั่วเวอราโนทุก 4 เดือน เชนเดียวกับ
                       หญาแฝก ระดับ 10 เซนติเมตรจากผิวดิน และบันทึกน้ําหนักมวลชีวภาพของใบทั้งแปลง แลวนําไป

                       คลุมดิน ทั้งนี้สุมตัวอยางใบและตนในพื้นที่ 1 ตารางเมตร ที่อายุ 24 36 และ 48 เดือน มาชั่งน้ําหนัก
                       สดและนํามาอบที่อุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียส เปนเวลา 24-72 ชั่วโมง จนกระทั่งน้ําหนักคงที่ จากนั้น
                       ชั่งน้ําหนักแหง นํามาคํานวณโดยแปลงหนวยเปนกิโลกรัมตอไร และสงวิเคราะหปริมาณธาตุอาหารใน

                       หองปฏิบัติการ ไดแก ปริมาณไนโตรเจน (N) โดยวิธีการ Kjeldahl method ปริมาณฟอสฟอรัส ใช
                       วิธีการ Colorimetry ปริมาณโพแทสเซียม ใชวิธีการ Flame emission spectrophotometry
                                    3.2.5 มวลชีวภาพของถั่วปนโต สุมตัวอยางพืชคลุมดิน จํานวน 1 กิโลกรัม ในพื้นที่
                       1 ตารางเมตร ที่อายุ 24 36 และ 48 เดือน มาชั่งน้ําหนักสดและนํามาอบที่อุณหภูมิ 70 องศา
                       เซลเซียส เปนเวลา 24-72 ชั่วโมงจนกระทั่งน้ําหนักคงที่ จากนั้นชั่งน้ําหนักแหง นํามาคํานวณโดย

                       แปลงหนวยเปนกิโลกรัมตอไร และสงวิเคราะหปริมาณธาตุอาหารในหองปฏิบัติการ ไดแก ปริมาณ
                       ไนโตรเจน (N) โดยวิธีการ Kjeldahl method ปริมาณฟอสฟอรัสใชวิธีการ Colorimetry ปริมาณ
                       โพแทสเซียมใชวิธีการ Flame emission spectrophotometry

                              3.3 ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ ขอมูลอุตุนิยมวิทยาจากสถานีตรวจอากาศเกษตร อําเภอปากชอง
                       จังหวัดนครราชสีมา ชวงปงบประมาณ 2558–2559 เพื่อเปนขอมูลอางอิงสําหรับงานศึกษาในครั้งนี้

                       4. การวิเคราะหขอมูล

                               นําขอมูลที่ไดจากการบันทึกในแปลงทดลองมาหาคาเฉลี่ยและประเมินผลเปรียบเทียบความ
                       แตกตางทางสถิติในแตละวิธีการทดลองโดยการวิเคราะหความแปรปรวน (Analysis of Variance:
                       ANOVA) เปรียบเทียบผลความแตกตางระหวางแตละวิธีการโดยวิธีของ Duncan Multiple Range
                       Test (DMRT) จากนั้นเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลี่ยทรีทเมนตโดยเปรียบเทียบระหวางกลุม

                       (Class Comparison) คือ หญาแฝก พืชคลุมดิน วิธีการควบคุม และวิเคราะหหาความสัมพันธ
                       ระหวางขอมูลที่เก็บบันทึกดวยคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (correlation coefficient; r) โปรแกรม
                       STAR (Statistical Tool for Agricultural Research; STAR-2.0.1)
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37