Page 28 - เปรียบเทียบพันธุ์หญ้าแฝกและพืชคลุมดินต่อการฟื้นฟูและการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน
P. 28

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                       12



                                  ตํารับที่ 4  หญาแฝกดอนพันธุราชบุรี
                                  ตํารับที่ 5   หญาแฝกดอนพันธุประจวบคีรีขันธ
                                  ตํารับที่ 6  หญาแฝกลุมพันธุพระราชทาน
                                  ตํารับที่ 7  หญาแฝกลุมพันธุสุราษฎรธานี

                                  ตํารับที่ 8  หญาแฝกลุมพันธุสงขลา 3
                                  ตํารับที่ 9  หญาแฝกลุมพันธุศรีลังกา
                                  ตํารับที่ 10  หญาแฝกลุมพันธุตรัง 2
                                  ตํารับที่ 11  ถั่วปนโต

                                  ตํารับที่ 12  ถั่วเวอราโน

                            2. การดําเนินงานวิจัย

                                 2.1 พื้นที่ศึกษาและการวางแผนการทดลอง ทําการทดลองในแปลงทดลองระยะยาว
                       ของตํารับเดิม 12 ตํารับ เปนแปลงที่ปลูกหญาแฝกและพืชคลุมดินตั้งแตปพ.ศ. 2555 มีอายุ 2 ป โดย
                       เริ่มเก็บขอมูลเดือนเมษายน 2557 ซึ่งหญาแฝกและพืชคลุมดินมีอายุ 24 เดือน  ในพื้นที่ศูนยวิจัยการ

                       อนุรักษดินและน้ํา อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา ชุดดินวังสะพุง
                                  2.2 พื้นที่แปลงทดลอง มีขนาด 4X6 เมตร จํานวน 36 แปลง เวนระยะระหวางแปลง
                       ยอย 1 เมตร ระยะระหวางซ้ํา 2 เมตร  แผนผังแปลงทดลอง ดังแสดงในภาพที่ 1
                                  2.3 การปลูกหญาแฝก โดยเปนแปลงทดลองระยะยาว มีหญาแฝกจํานวน 9 พันธุ

                       แบงเปนหญาแฝกพันธุดอน 4 พันธุ คือ พันธุนครสวรรค พันธุรอยเอ็ด พันธุราชบุรี และพันธุ
                       ประจวบคีรีขันธ หญาแฝกพันธุลุม 5 พันธุ คือ พันธุพระราชทาน พันธุสุราษฎรธานี พันธุสงขลา 3
                       พันธุศรีลังกา และพันธุตรัง 2 หญาแฝกมีระยะปลูกระหวางตนและระหวางแถว 10x100 เซนติเมตร

                       จํานวน 6 แถว ๆ ละ 40 ตน
                                2.4 การปลูกพืชคลุมดิน โดยเปนแปลงทดลองระยะยาว มี 2 ชนิด คือถั่วปนโตมีระยะ
                       การปลูกตามคําแนะนํา 50x50 เซนติเมตร สวนถั่วเวอราโนเนื่องจากเปนพืชอายุสั้น 2-3 ป ในขณะที่
                       เริ่มเก็บขอมูลงานวิจัยพืชคลุมดินมีอายุ 2 ป ตนถั่วเวอราโนมีจํานวนนอย จึงตองปลูกเพิ่มเติมโดยโรย

                       เมล็ดถั่วเวอราโนเปนแถว จํานวน 6 แถว อัตราการใช 2-3 กิโลกรัมตอไร
                                2.5  ติดตั้งทอวัดความชื้น โดยใช Hand auger เจาะดินแลวจึงสวม Access tube ลง
                       ในดิน ทําการติดตั้งไวตรงกลางของแปลงทดลองหญาแฝก พืชคลุมดิน และแปลงควบคุม

                                2.6 แปลงปลูกหญาแฝกมีการดําเนินการ ดังนี้
                                  2.6.1 สวนที่ 1 ทําการตัดใบหญาแฝกทุก 4 เดือน ที่ระดับ 10 เซนติเมตรจากผิวดิน
                       ทั้งแปลงทําการชั่งน้ําหนักและนําใบหญาแฝกทั้งหมดคลุมดิน การตัดใบหญาแฝกดําเนินการรวม
                       จํานวน 7 ครั้ง ดังนี้

                                            1) เริ่มตนเก็บขอมูลหญาแฝกที่อายุ 24 เดือน (เดือนเมษายน 2557)
                                            2) หญาแฝกที่อายุ 28 เดือน (เดือนสิงหาคม 2557)

                                            3) หญาแฝกที่อายุ 32 เดือน (เดือนธันวาคม 2557)
                                            4) หญาแฝกที่อายุ 36 เดือน (เดือนเมษายน 2558)
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33