Page 31 - เปรียบเทียบพันธุ์หญ้าแฝกและพืชคลุมดินต่อการฟื้นฟูและการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน
P. 31

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                       15



                                    3.1.2 การเก็บขอมูลความชื้นในดิน  โดยการเตรียมอุปกรณวัดความชื้นในดิน ทํา
                       การฝงทอ (Access Tube) สําหรับวัดความชื้นดินโดยฝงทอมีระดับความลึกประมาณ 100 เซนติเมตร
                       จํานวน 1 จุดตอแปลง รวมทั้งหมด 36 จุด (ภาพที่ 2) หลังจากฝงทอนําแผนยางกันขอบวางรอบทอ
                       เพื่อปองกันไมใหน้ําเขาภายในทอ หลังจากนั้นปลอยทอทิ้งไว 1 เดือน  สําหรับการวัดความชื้นในดิน

                       ใชเครื่องวัดความชื้นในดินตามลําดับชั้นดินแบบพกพา ทําการเก็บขอมูลความชื้นทุกเดือน  โดยนํา
                       หัววัดคาความชื้น Profile probe ใสลงในทอ ตามจุดที่มีการติดตั้ง Access Tube เครื่องจะบันทึกคา
                       ความชื้นในดินตามลําดับชั้นดินที่ 10 40 60 และ 100 เซนติเมตร เครื่องจะแสดงคาความชื้นโดย
                       ปริมาตรในรูปเปอรเซ็นต (Volumetric soil moisture content) (วรรธนัย, 2552)


































                            ภาพที่ 2 การติดตั้งทอในแปลงทดลองและการวัดความชื้นในดินโดยเครื่องวัดความชื้นดิน

                              3.2 ขอมูลหญาแฝก และพืชคลุมดิน มีการจัดการตัดใบคลุมดินทุก 4 เดือนเชนเดียวกับแปลง
                       ทดลองที่ปลูกหญาแฝกและพืชคลุมดินตั้งแตปพ.ศ. 2555

                                    3.2.1 มวลชีวภาพของใบหญาแฝกโดยตัดใบหญาแฝกทุก 4 เดือน ระดับ 10 เซนติเมตร
                       จากผิวดิน และบันทึกน้ําหนักมวลชีวภาพของใบหญาแฝกทั้งแปลง แลวนําไปคลุมดิน ซึ่งเปนการ
                       จัดการ รวมทั้งหมด 7 ครั้ง ดังแสดงขอมูลหนาที่ 13 ทั้งนี้สุมตัวอยางใบหญาแฝกจํานวน 1 กิโลกรัม
                       ในพื้นที่ 1 ตารางเมตร เมื่ออายุ 24 36 และ 48 เดือน มาชั่งน้ําหนักสด และนํามาอบที่อุณหภูมิ 70

                       องศาเซลเซียส เปนเวลา 24-72 ชั่วโมง จนกระทั่งน้ําหนักคงที่ ชั่งน้ําหนักแหง นํามาคํานวณโดยแปลง
                       หนวยเปนกิโลกรัมตอไร และสงวิเคราะหปริมาณธาตุอาหารในหองปฏิบัติการ ไดแก ปริมาณไนโตรเจน
                       (N) โดยวิธีการ Kjeldahl method ปริมาณฟอสฟอรัส ใชวิธีการ Colorimetry ปริมาณโพแทสเซียม

                       ใชวิธีการ Flame emission spectrophotometry
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36