Page 25 - เปรียบเทียบพันธุ์หญ้าแฝกและพืชคลุมดินต่อการฟื้นฟูและการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน
P. 25

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                         9



                       และพืชปองกันการชะลางพังทลายของดินบนพื้นที่ลาดชัน ไมเหมาะสมสําหรับไถกลบเปนปุยพืชสด
                       ทั้งตน แตเลือกตัดเอาเฉพาะกิ่ง ใบ และยอดมาคลุมดินหรือคลุกกับดินเปนปุยพืชสด ไดแก กระถิน
                       แคฝรั่ง คราม ถั่วมะแฮะ ขี้เหล็ก และถั่วมะแฮะนก เปนตน
                                  4) พืชตระกูลถั่วคลุมดิน (cover crops) หมายถึงพืชที่ปลูกเพื่อใหคลุมพื้นที่ในชวงพัก

                       ดิน โดยไมหวังผลผลิตที่จําหนายได แตตองการประโยชนคือดานการอนุรักษดินและน้ํา เพิ่ม
                       อินทรียวัตถุ และเพิ่มไนโตรเจนใหแกดิน (ยงยุทธ, 2557) หรือหมายถึงพืชที่ปลูกหรือหวานใหมีการ
                       เจริญเติบโตอยางหนาแนน มีใบหนามี ระบบรากแนนสําหรับคลุมดิน หรือยึดดิน ทั้งนี้เพื่อชวยใหดินมี
                       สิ่งรองรับแรงปะทะ ทั้งนี้พืชคลมุดินแบงออกเปน 2 ประเภท ตามลักษณะการเจริญเติบโต คือประเภท

                       พุมเตี้ย (herbs) และประเภทเถาเลื้อย (creeping vine) ทั้ง 2 ประเภทนี้สวนใหญใชประโยชนปลูก
                       เปนพืชคลุมและพืชอาหารสัตว ไมนิยมปลูกแลวไถกลบเปนปุยพืชสดบํารุงดิน เพราะมีปริมาณ
                       มวลชีวภาพต่ํา และไมสะดวกตอการใชไถกลบ เนื่องจากเถาของพืชมักจะพันผานไถ
                                  การใชประโยชนจะปลูกเปนพืชคลุมดิน โดยทั่วไปมี 2 ลักษณะ คือ ปลูกคลุมดินในพื้นที่

                       รกรางวางเปลาตามสองขางทางหลวง ไหลเขา และเชิงเขา อีกลักษณะหนึ่งใชปลูกเปนสิ่งคลุมดิน
                       ชีวภาพ (Living mulch) ระหวางแถวพืชหลักและไมยืนตน เพื่อปองกันการชะลางพังทลายของดิน
                       และปองกันวัชพืช ในขณะเดียวกันเศษเหลือของพืชที่รวงหลนลงดินจะชวยปรับปรุงบํารุงดิน พืช

                       จําพวกเถาเลื้อยปเดียว ไดแก ถั่วขอ และคาโลโปโกเนียม พืชคลุมดินไมพุมเตี้ยมีลําตนขึ้นเปนพุมเตี้ย
                       ไดแก ถั่วเวอราโน ถั่วลิสงนา และถั่วผี นอกจากนี้ในปจจุบันพืชตระกูลถั่วที่ไดรับความนิยมแพรหลาย
                       กันมากขึ้นในการนํามาปลูกคลุมดินเพื่อทดแทนการปลูกหญาคือ ถั่วปนโต หรือเรียกอีกอยางวา
                       ถั่วลิสงเถา ถั่วเปรู ถั่วอมาริลโล ปจจุบันไดมีการนําพืชคลุมดิน (cover crops) มาใชประโยชนเพื่อ
                       ปองกันดินจากการชะลางพังทลายและการสูญเสียธาตุอาหารพืชโดยการชะลางและน้ําไหลบา พืช

                       ตระกูลถั่วมีผูสนใจนํามาปลูกคลุมดินมากกวาพืชตระกูลหญา เนื่องจากสามารถรักษาปริมาณ
                       ไนโตรเจนและเพิ่มปริมาณอินทรียไนโตรเจนในดินได พืชคลุมดินที่เปนพืชตระกูลถั่วจะชวยเพิ่มธาตุ
                       ไนโตรเจนใหแกดินชั้นบน โดยแบคทีเรียที่อยูในปมราก และเพื่อปกปดผิวหนาดินกันแรงกระแทกของ

                       ฝนที่จะทําใหหนาดินถูกชะลาง สุขจิตต และคณะ (2529) รายงานวาถั่วลาย และถั่วเวอราโนใหผลใน
                       การคลุมดินดีที่สุด นอกจากนี้ถั่วเวอราโนจะเจริญเติบโต ทนแลง และขึ้นไดดีในดินเกือบทุกชนิด
                       (ชุมพล และประพัฒน, 2532) อุทิศ (2543) พบวาพืชตระกูลถั่วคลุมดินที่เหมาะสมเพื่อการอนุรักษ
                       ดินและน้ํา ในพื้นที่ศูนยพัฒนาโครงการทุงหลวง ซึ่งสูงจากระดับน้ําทะเลปานกลาง 1,000 เมตร คือ
                       ไมยราบไรหนาม ถั่วเวอราโน และพืชตระกูลถั่วคลุมดินที่เหมาะสมเพื่อการอนุรักษดินและน้ํา ในพื้นที่

                       ศูนยพัฒนาโครงการหลวงแมสะปอก สูงจากระดับน้ําทะเลปานกลาง 700 เมตร คือ ถั่วปนโต หรือ
                       ถั่วบราซิล เปนพืชคลุมดินขามป สามารถปลูกไดตั้งแตดินเหนียวถึงดินทรายที่มีอุดมสมบูรณต่ําถึงสูง
                       pH ต่ํา ถึง pH ที่เปนกลาง สามารถเปนพืชคลุมดินในไมผล ทนรมเงา และเปนอาหารสัตว ปลูกใน

                       เขตรอน  ชุมพล และสุมล (2535) พบวาการปลูกถั่วขอเปนพืชคลุมดินรวมกับการปลูกขาวโพด
                       ชุดดินปากชอง สถานีพัฒนาที่ดินนครราชสีมา มีแนวโนมชวยใหอุณหภูมิของผิวดินลดลงประมาณ
                       1.5-5.5 องศาเซลเซียล ปริมาณความชื้นในดินเพิ่มขึ้น 1.25-5.10 เปอรเซ็นต ความหนาแนนของดิน
                       ลดลง ปริมาณอินทรียวัตถุในดินเพิ่มขึ้นประมาณ 0.02-0.16 ฉัตรชัย (2554) รายงานวาการใชเศษ
                       เหลือของพืชคลุมดินและการปลูกหญาแฝกระหวางแถวสบูดํา โดยตัดใบคลุมดิน และการปลูกถั่วพรา
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30