Page 20 - เปรียบเทียบพันธุ์หญ้าแฝกและพืชคลุมดินต่อการฟื้นฟูและการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน
P. 20

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                         4



                                    2.1.3 หญาแฝกแอฟริกา ชื่อวิทยาศาสตรวา Chrysopogon nigritana หญาแฝก
                       ชนิดนี้มีถิ่นกําเนิดในแอฟริกาตอนใต และแอฟริกาตะวันตก และเนื่องจากเมล็ดของหญาแฝกชนิดนี้
                       สามารถงอกได การใชประโยชนจึงจํากัดอยูในทองถิ่นนั้น ๆ (ปอล และคณะ, 2556)
                                          สําหรับในประเทศไทย พันธุหญาแฝกที่ใชประโยชนทางดานอนุรักษดินและน้ํา

                       และฟนฟูทรัพยากรดินที่เหมาะสมกับประเทศไทยจากคําแนะนําของกรมพัฒนาที่ดิน มีจํานวน 10
                       พันธุ จําแนกเปนหญาแฝกลุมและหญาแฝกดอน โดยหญาแฝกลุมที่แนะนําเพื่อการอนุรักษดินและน้ําใน
                       พื้นที่ตาง ๆ มี 4 พันธุ ไดแก พันธุศรีลังกา พันธุสงขลา 3 พันธุกําแพงเพชร 2 และพันธุสุราษฎรธานี
                       ลักษณะเดนของหญาแฝกลุม คือมีใบยาว 45-100 เซนติเมตร กวาง 0.6-1.2 เซนติเมตร มีหลังใบโคง

                       ปลายใบแบน มีสีเขียวเขม เนื้อใบคอนขางเนียน มีไขเคลือบมาก ทองใบสีขาวซีด มีรากหยั่งลึกลงใน
                       ดิน สําหรับพันธุหญาแฝกดอนที่แนะนําในการอนุรักษดินและน้ําในพื้นที่ตาง ๆ มี 6 พันธุ ไดแก พันธุ
                       นครสวรรค พันธุกําแพงเพชร 1 พันธุรอยเอ็ด พันธุเลย พันธุราชบุรี และพันธุประจวบคีรีขันธ หญา
                       แฝกดอนพบไดทั่วไปในพื้นที่คอนขางแลง หรือในดินระบายน้ําไดดีในทุกภาคของประเทศไทย

                       สามารถขึ้นไดดีทั้งในที่แดดจัด และแดดปานกลาง ยอดกอปลายจะแผโคงลงคลายกอตะไคร ไมตั้ง
                       มากเหมือนหญาแฝกลุม หญาแฝกดอนมีใบยาว 35-80 เซนติเมตร กวาง 0.4-0.8 เซนติเมตร ใบสีเขียว
                       หลังใบพับเปนสันสามเหลี่ยม เนื้อใบหยาบ สากคาย มีไขเคลือบนอย ทองใบสีเดียวกับหลังใบ แตมีสีซีด

                       กวา (สํานักวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน, 2547)
                                          หญาแฝกทั้งสองชนิดนี้สามารถปรับตัวเขากับสภาพแวดลอมไดดี และ
                       คอนขางรวดเร็ว มีการแตกหนอเปนกอและเบียดกันแนน อายุยืนเพราะแตกหนอใหมอยูเสมอ ลําตนถี่
                       และสามารถขยายพันธุโดยใชหนอไดตลอดทั้งป ใบยาวและเมื่อตัดสามารถแตกใหมไดงาย แข็งแรง
                       ทนทานตอการยอยสลาย การตัดใบหญาแฝกควรตัดทุก ๆ 3-4 เดือน ชวยใหหญาแฝกมีการแตกกอ

                       เพิ่มขึ้น กําจัดชอดอก และควบคุมความสูงของตนหญาแฝก โดยชวงตนฤดูฝนควรตัดใบหญาแฝกใหสั้น
                       สูงจากผิวดิน 5 เซนติเมตร เพื่อใหเกิดการแตกหนอใหมเพิ่มสูงขึ้น และกําจัดหนอแกที่แหงตาย ชวง
                       กลางและปลายฤดูฝนควรตัดใบสูงไมต่ํากวา 30-40 เซนติเมตร เพื่อใหมีแนวกอที่หนาแนนในการรับ

                       แรงปะทะของน้ําไหลบา และหญาแฝกแตกใบเขียวในฤดูแลง (กรมพัฒนาที่ดิน, 2552) หญาแฝกเปน
                       พืชที่มีระบบรากยาว หยั่งลึกลงในแนวดิ่งและประสานกันแนนหนา รากอวบและสามารถอุมน้ําไดดี
                       ดวยสมบัติที่ดีตาง ๆ ดังที่กลาวทําใหมีการรณรงคปลูกหญาแฝกเพื่อการอนุรักษดินและน้ํา ทั้งในพื้นที่
                       ทําการเกษตร พื้นที่เสื่อมโทรม และพื้นที่วิกฤติตาง ๆ โดยเฉพาะพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง และพื้นที่มี

                       ปญหาการชะลางพังทลายของดิน (ปอล และคณะ, 2556)

                              2.2 ประโยชนของหญาแฝก
                                    2.2.1 การปรับปรุงสมบัติทางเคมีและทางกายภาพของดิน
                                          งานวิจัยในประเทศจีน พบวาการตัดใบหญาแฝกที่ประมาณ 30 เซนติเมตร
                       จากผิวดิน จะมีการแตกหนอมากกวาการไมตัดใบเฉลี่ย 18.6 หนอตอกอ และพบวาใบหญาแฝกที่เกิด

                       ใหมมีความสมบูรณดีกวาตนที่ไมไดตัดใบ (Mo, 1998) การตัดใบชวยเรงการแตกหนอ (Xia, 1995)
                       Lu and Zhong แถวของหญาแฝกที่ปลูกในสวนไมผล ไรชา และพื้นที่เพาะปลูกในที่ลาดชัน จะตอง
                       ทําการตัดแตงใบ 3-4 ครั้งตอป และใหน้ําหนักใบสด 8-15 กิโลกรัมตอความยาวแถวหญาแฝก 1
                       เมตร พบวาใน 1 ป จะไดนําหนักสดของตน ประมาณ 362- 625 ตันตอไร และราก 150 ตันตอไร
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25