Page 21 - เปรียบเทียบพันธุ์หญ้าแฝกและพืชคลุมดินต่อการฟื้นฟูและการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                         5



                       และปริมาณธาตุอาหารในใบและตนแหง 1 กิโลกรัมจะมีปริมาณอินทรียคารบอน 422 กรัม
                       ไนโตรเจน 17.4 กรัม ฟอสฟอรัส 0.5 กรัม และโพแทสเซียม 7.5 กรัม ขณะเดียวกันรากแหง 1
                       กิโลกรัม จะมีปริมาณอินทรียคารบอน 402 กรัม ไนโตรเจน 2.1 กรัม ฟอสฟอรัส 0.6 กรัม และ
                       โพแทสเซียม 5.8 กรัม ดังนั้นใบหญาแฝกที่ตัดนํามาใชเปนวัสดุคลุมดินและทําปุยหมัก จะมี

                       ประสิทธิภาพในการปรับปรุงความอุดมสมบูรณของดิน และนําไปสูการเพิ่มผลผลิตพืชได (Liyu,
                       1988)
                                        การปลูกหญาแฝกมีประโยชนในดานการฟนฟูโครงสรางของดิน ซึ่งศึกษาการ
                       เจริญเติบโตและลักษณะของรากหญาแฝก จากชั้นผิวดินจนถึงชั้นลูกรังหรือดินดาน ในหลุมที่สวาน

                       เจาะชั้นดินลูกรังหรือชั้นดินดานมีการชอนไชของรากหญาแฝก ดําเนินการที่ศูนยศึกษาการพัฒนาหวย
                       ทรายอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี พบวารากหญาแฝกชอนไชจากผิวดิน
                       ดานลงไปไดลึก 15 เซนติเมตร และมีปริมาณรากคอนขางหนาแนน นอกจากนี้พบวารากหญาแฝก
                       สามารถชอนไชลึกที่สุดคือ 74 เซนติเมตรจากผิวดิน และหญาแฝกลุมพันธุพระราชทานมีแนวโนม

                       สลายชั้นดินดานได ถาปลูกหญาแฝกเปนแปลงใหญมีการใหน้ําและปุยอยางเพียงพอ (พิทยากร, 2551)
                                        ประไพ และคณะ (2541) รายงานวาจากการยอยสลายและปลดปลอยธาตุอาหาร
                       พืชจากใบหญาแฝกพันธุศรีลังกาและพันธุประจวบคีรีขันธที่บรรจุในถุงตาขาย นําไปวางบนดินและฝง

                       ในดินทรายชุดดินหุบกะพง พบวาหญาแฝกที่ฝงลงในดินยอยสลายไดเร็วและมากกวาหญาแฝกที่วาง
                       บนดิน ประมาณ 2 - 3 เทา และจากการนําหญาแฝกแหง 1 ตัน ฝงในดินสามารถปลดปลอยธาตุ
                       อาหารอนินทรียไนโตรเจน ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน และโพแทสเซียมที่เปนประโยชน โดยเฉลี่ย
                       ประมาณ 4.3 2.2 และ 20.5 กิโลกรัม ตามลําดับ อิสริยา และคณะ (2551) ศึกษามวลชีวภาพของ
                       หญาแฝกดอนพันธุราชบุรี และหญาแฝกลุมพันธุสุราษฎรธานีเพื่อปรับปรุงดินพื้นที่ดินถมจากกนบอ

                       สภาพดินเปนกรด พบวาหญาแฝกทั้ง 2 พันธุ ที่อายุ 6 เดือน มีการเจริญเติบโตและการแตกกอดีกวาที่
                       อายุ 4 และ 5 เดือน และพบวาการปลูกหญาแฝกทุกวิธีการมีผลทําใหความอุดมสมบูรณเพิ่มขึ้น
                       สอดคลองกับอรุณ และคณะ (2552) ที่พบวาดินที่ปลูกหญาแฝกอายุ 4 เดือน มีสมบัติทางเคมีและ

                       กายภาพของดินดีขึ้น โดยเฉพาะพันธุสงขลา 3 พันธุศรีลังกา และพันธุสุราษฎรธานี การปลูกหญาแฝก
                       เปนแถวติดตอกันจะเสมือนการชะลอของน้ําใตดิน ทําใหความชื้นในดินเพิ่มขึ้น เนื่องจากหญาแฝกมี
                       ระบบรากที่เจริญเติบโตอยางรวดเร็ว รากหยั่งลึกลงไปในดิน และแตกแขนงเปนรากฝอยประสานกัน
                       แนนเหมือนตาขายหรือรางแห เกาะยึดดินใหมีความแข็งแรงมั่นคง ซึ่งสงผลใหดินสามารถเก็บ

                       ความชื้นในดินไดมากขึ้น ความชื้นในดินมีความสําคัญตอการเจริญเติบโตของพืช และการผลิตทาง
                       การเกษตรเปนอยางมาก
                                          Lu and Zhong (1998) รายงานวาเมื่อนําใบหญาแฝกที่ตัดออกไปใชเปน
                       ปุยพืชสดจะชวยปรับปรุงและเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุในดิน ลดความหนาแนนรวมของดิน เพิ่มปริมาณ

                       ชองวางในดินและเพิ่มปริมาณคารบอน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมในดิน และมีผลทําให
                       ผลผลิตขาวโพดสูงขึ้น 34.8 เปอรเซ็นต นอกจากนี้ใบหญาแฝกจะทนทานและคลุมดินไดยาวนานกวา
                       ฟางขาว เนื่องจากในระยะเวลา 4 เดือน หญาแฝกจะยอยสลายไดประมาณ 39.2 เปอรเซ็นต ในขณะที่
                       ฟางขาวสลายตัวไป 75.0 เปอรเซ็นต หญาแฝกทําใหมีปริมาณอินทรียไนโตรเจนในดินเพิ่มขึ้นดวย

                       (Chen et al.,1994)
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26