Page 19 - เปรียบเทียบพันธุ์หญ้าแฝกและพืชคลุมดินต่อการฟื้นฟูและการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน
P. 19

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                         3



                       สมบัติทางเคมีชุดดินวังสะพุง
                        ความลึก   อินทรียวัตถุ   ความจุ   ความ    ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม       ความอุดม
                       (เซนติเมตร)            แลกเปลี่ยน  อิ่มตัว   ที่เปน     ที่เปน      สมบูรณ
                                              แคตไอออน     เบส     ประโยชน   ประโยชน
                         0-25      ปานกลาง     ปานกลาง     ต่ํา      ต่ํา        สูง        ปานกลาง

                         25-50        ต่ํา     ปานกลาง     ต่ํา      ต่ํา        สูง        ปานกลาง
                        50-100        ต่ํา       สูง       ปาน       ต่ํา        สูง        ปานกลาง
                                                          กลาง

                       2. หญาแฝก

                              หญาแฝกเปนพืชเขตรอนมีชื่อทางวิทยาศาสตรเดิมวา Vetiveria zizanioides (L.) Nash ปจจุบัน
                       เปลี่ยนเปน Chrysopogon zizanioides (L.) Roberty (ปอล และคณะ, 2556) หญาแฝกเปนพืชใบเลี้ยง
                       เดี่ยวตระกูลหญา เชนเดียวกับขาวโพด ขาวฟาง ออย หญาแฝกที่พบในสภาพธรรมชาติมีถิ่นกําเนิด
                       ตามพื้นที่ราบลุมน้ําทวม ตามแหลงน้ําธรรมชาติ ริมหนองบึงและในปา แตเมื่อนําพันธุที่ไดคัดเลือก

                       แลวไปปลูกในพื้นที่ตาง ๆ ทั่วโลก สามารถขึ้นไดเกือบทุกสภาพพื้นที่ หญาแฝกสามารถเจริญเติบโตได
                       ในสภาพภูมิประเทศที่เปนที่ราบใกลเคียงระดับน้ําทะเล ถึงพื้นที่ภูเขาสูง หรือในพื้นที่ดินเปรี้ยว ดิน
                       ดาง ดินเค็ม ดินที่มีความอุมดสมบูรณต่ํารวมทั้งพื้นที่ที่มีปริมาณน้ําฝนนอย (สํานักงาน กปร., 2549)

                              2.1 ชนิดหญาแฝก หญาแฝกที่ใชในการอนุรักษดินและน้ํา มี 3 ชนิด ดังนี้
                                    2.1.1 หญาแฝกลุมหรือหญาแฝกหอม ชื่อวิทยาศาสตรวา Chrysopogon zizanioides

                       เปนหญาแฝกที่มีถิ่นกําเนิดในประเทศอินเดีย มี 2 สายพันธุ ไดแก Chrysopogon zizanioides และ
                       Chrysopogon lawsonii หญาแฝกหอม C. zizanioides มีที่มาหรือแหลงพันธุที่แตกตางกันจากหลาย
                       พื้นที่ หญาแฝกจากแหลงพันธุทางอินเดียตอนใตมีการปลูกมานาน มีระบบรากขนาดใหญและแข็งแรง

                       หญาแฝกจากแหลงพันธุเหลานี้มีแนวโนมที่จะเปน polyploid (มีโครโมโซมมากกวาสองเทา) งานวิจัย
                       สวนใหญใชพันธุของอินเดียตอนใตซึ่งไดรับการพัฒนาพันธุใหมีความแข็งแรงขึ้น อาทิ พันธุ Monto
                       และ Sunshine จึงมีความสัมพันธอยางใกลชิดกับพันธุหญาแฝกหอมตามธรรมชาติ จากผลการศึกษาดี
                       เอ็นเอ (DNA) ยืนยันวาหญาแฝก C. zizanioides ที่ใชในงานดานชีววิศวกรรมและการแกไขสภาพดิน
                       โดยใชพืชในประเทศเขตรอนและเขตกึ่งรอนประมาณ 60 เปอรเซ็นต มีลักษณะทางพันธุกรรมแบบ

                       เดียวกับพันธุ Monto และ Sunshine (ปอล และคณะ, 2556)
                                    2.1.2 หญาแฝกดอน ชื่อวิทยาศาสตรวา Chrysopogon nemoralis เปนหญาแฝก
                       พื้นเมืองหรือหญาแฝกดอน มีการกระจายแพรหลายอยางกวางขวางในพื้นที่สูงของประเทศไทย ลาว

                       และเวียดนาม รวมทั้งกัมพูชา และเมียนมาร เมล็ดหญาแฝกดอนชนิดนี้ไมเปนหมัน ความแตกตางที่
                       สําคัญระหวางแฝกดอน C. Nemoralis และหญาแฝกหอม C. zizanioides คือ หญาแฝกหอมมี
                       ลําตนสูงมากกวา ลําตนมีความหนาและแข็ง กับมีระบบรากหนากวาและหยั่งลึกในดิน มีใบที่กวางกวา
                       ดานทองใบจะมีสีซีดขาวถึงสีเขียวออน (ปอล และคณะ, 2556)
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24