Page 65 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่ม บ้านนาหมัน หมู่ที่ 4 ตำบลแม่จริม อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน
P. 65

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       52







                              ในการจัดท้ากราฟ IDF Curve ดังกลําว จ้าเป็นจะต๎องมีข๎อมูลน้้าฝนที่มีการเก็บอยํางตํอเนื่อง
                       เป็นระยะเวลานานหลายปี ในการค้านวณอัตราการไหลของน้้า วิศวกรต๎องเลือกใช๎กราฟ น้้าฝนของ
                       สถานีวัดที่อยูํใกล๎โครงการมากที่สุด  อารียา และคณะ (2556) ได๎ปรับปรุงการวิเคราะห๑ฝนออกแบบ

                       ของพื้นที่ลุํมน้้าภาคกลาง โดยรวบรวมข๎อมูลฝนที่ชํวงเวลา 15 30 45 นาที 1 2 3 6 12 และ 24
                       ชั่วโมง ของสถานีวัดน้้าฝน 19 จังหวัด ในชํวงตั้งแตํปี พ.ศ. 2533 – 2553 แล๎วท้าการทดสอบความ

                       เหมาะสมของฟังก๑ชันการแจกแจงโอกาสความนําจะเป็นของอนุกรมเวลาข๎อมูลฝนสูงสุดรายปี ทั้ง 19
                       จังหวัด โดยอาศัยวิธีสไมนอฟ-กอลโมโกรอฟ (Smirnov-Kolmogorov Test)

                              การหาคําความเข๎มของฝน (i) จากกราฟจ้าเป็นต๎องทราบคําตัวแปรตํอไปนี้ คือ
                                     1) รอบปีการเกิดซ้้าของน้้าฝน (Return period)

                                     2) ชํวงเวลาการตกของฝน (Duration)  ที่ใช๎ในการค้านวณก้าหนดให๎เทํากับ
                       ชํวงเวลาที่น้้าฝนสํวนเกินที่ตกในพื้นที่รับน้้าไหลมารวมพร๎อมกัน ณ จุด  Outlet  (Time  of
                       Concentration: T ) ซึ่งสามารถหาระยะเวลาที่น้้าไหลบนผิวดินหาได๎จากสมการ ดังนี้
                                       c
                                     ชํวงเวลาที่น้้าไหลจากจุดไกลสุดของพื้นที่ถึงจุดที่ก้าหนด  (Time  of  concentration:
                       T ) สามารถค้านวณได๎จากสมการ ดังนี้
                        c


                                                               ( )

                                                                  √
                                     เมื่อ   T  คือ ชํวงเวลาที่น้้าไหลจากจุดไกลสุดของพื้นที่ถึงจุดที่ก้าหนด (ชั่วโมง)
                                             c
                                             L คือ ความยาวของรํองน้้าสายหลักของพื้นที่

                                             S คือ ความลาดชันของรํองน้้าสายหลัก

                       3.9 การอนุรักษ์ดินและน้ า
                              การอนุรักษ๑ดินและน้้า (Soil and Water Conservation) หมายถึง การใช๎ทรัพยากรดินและ

                       น้้าอยํางเหมาะสมด๎วยวิธีชาญฉลาด คุ๎มคํา เกิดประโยชน๑สูงสุด และมีความยั่งยืน การอนุรักษ๑ดินและ
                       น้้าจะลดการชะล๎างพังทลายของดินได๎ด๎วยการเลือกใช๎ “มาตรการอนุรักษ๑ดินและน้้า (soil  and

                       water  conversation  measure)” ซึ่งเป็นแนวทางในการอนุรักษ๑ดินและน้้าอยํางเหมาะสม เพื่อใช๎
                       ป้องกันและรักษาดินไมํให๎ถูกชะล๎างพังทลายทั้งบนพื้นที่ที่มีความลาดชันต่้าจนถึงพื้นที่ที่มีความลาด

                       ชันสูง เพื่อป้องกันดินไมํให๎หลุดออกโดยการตกกระทบของเม็ดฝนและลม เพื่อลดปริมาณน้้าไหลบํา
                       เพื่อควบคุมหรือชะลอความเร็วของน้้าไหลบํา และเพิ่มอัตราการไหลซึมของน้้าลงในดิน (กรมพัฒนา
                       ที่ดิน, 2558) วัตถุประสงค๑ของการอนุรักษ๑ดินและน้้า ได๎แกํ

                                     1) เพื่อลดการชะล๎างพังทลายดิน เพื่อให๎อัตราการสูญเสียดินใกล๎เคียงกับอัตราการ
                       เกิดดิน และพยายามรักษาให๎อยูํในสภาพที่สมดุล

                                     2) เพื่อรักษาปริมาณธาตุอาหารและระดับความอุดมสมบูรณ๑ของดิน รวมถึงการ
                       ป้องกันการสูญเสียและการเพิ่มสํวนที่สูญเสียไปโดยวิธีการหนึ่ง
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70