Page 66 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่ม บ้านนาหมัน หมู่ที่ 4 ตำบลแม่จริม อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน
P. 66

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       53







                                     3) เพื่อรักษาระดับอินทรียวัตถุในดิน รวมถึงการควบคุมอัตราการสลายตัว และการ
                                                    เพิ่มซากพืชและสัตว๑ให๎แกํดิน
                                     4) เพื่อรักษาสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน ให๎มีสภาพที่เหมาะสมตํอการ

                       เจริญเติบโตของพืช รวมถึงการปรับปรุงบ้ารุงดินให๎ดินมีสมบัติที่ดีขึ้น
                                     5) เพื่อรักษาน้้าและความชื้นในดิน รวมถึงการใช๎ทรัพยากรน้้าในพื้นที่ให๎เกิด

                       ประโยชน๑สูงสุด (พิทยากร, 2553)
                                     กรมพัฒนาที่ดิน ได๎มีการก้าหนดปริมาณการสูญเสียดินสูงสุดที่ยอมรับได๎ ส้าหรับดิน

                       ในประเทศไทยเป็น 2 ตันตํอไรํตํอปี ซึ่งการสูญเสียดินในระดับนี้จะไมํท้าให๎สมรรถนะของดินส้าหรับ
                       การเกษตรเปลี่ยนแปลงตลอดระยะเวลา 25 ปี และคําการสูญเสียดินที่สูงกวําระดับนี้จะมีผลเสียหาย

                       ตํอคุณภาพดินและผลผลิตพืชในระยะยาว อัตราการสูญเสียดินในพื้นที่เกษตรกรรมของประเทศไทย
                       อยูํระหวําง 0-50 ตันตํอไรํตํอปี แสดงวําในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงตํอการชะล๎างพังทลาย จะเกิดการ
                       สูญเสียดินที่รุนแรงทั้งอัตราและปริมาณ ผลกระทบจากการสูญเสียดินในพื้นที่สํงผลตํอความสามารถ

                       ในการให๎ผลผลิตของดินและรายได๎ของเกษตรกรลดลง ท้าให๎เกิดการเปลี่ยนแปลงคุณภาพสิ่งแวดล๎อม
                       และสํงผลตํอโครงสร๎างทางวิศวกรรมและอุตสาหกรรม เชํน การท้าลายโครงสร๎างถนน ท้าให๎ทางน้้า

                       และแหลํงน้้าตื้นเขิน เป็นต๎น (กรมพัฒนาที่ดิน, 2558) นอกจากนี้ยังประเมินการสูญเสียธาตุอาหารใน
                       ดินที่ถูกพัดพาจากพื้นที่ลุํมน้้าในด๎านอัตราการสูญเสียในรูปของตะกอนดินและธาตุอาหารพืชและ

                       คุณคําทางเศรษฐกิจในรูปของปุ๋ย พบวํา มูลคําธาตุอาหารพืชจากตะกอนดินที่ถูกชะล๎างไปทั่วประเทศ
                       จะสูญเสียธาตุไนโตรเจนในรูปของปุ๋ยยูเรีย ประมาณ 294,128 ตันตํอปี ปริมาณฟอสฟอรัสในรูปของ

                       ปุ๋ยทริปเปิลซุปเปอร๑ฟอสเฟต ประมาณ 275,040 ตันตํอปี และปริมาณโพแทสเซียมในรูปของปุ๋ย
                       โพแทสเซียมคลอไรด๑ ประมาณ 1,040,314 ตันตํอปี (กรมพัฒนาที่ดิน, 2556)
                              3.9.1 มาตรการอนุรักษ๑ดินและน้้า

                              ความลาดชันเป็นปัจจัยส้าคัญที่กํอให๎เกิดการชะล๎างพังทลายของดิน ดังนั้น มาตรการอนุรักษ๑
                       ดินและน้้า จึงผันแปรไปตามความลาดชัน ตั้งแตํลักษณะพื้นที่ราบ พื้นที่ดอน และพื้นที่สูง ซึ่ง

                       มาตรการอนุรักษ๑ดินและน้้าที่ใช๎กันแบํงออกตามลักษณะของมาตรการได๎ 2 ประเภท คือมาตรการวิธี
                       กล (Mechanical measures) และมาตรการวิธีพืช (Vegetative measures) การเลือกใช๎มาตรการ
                       ใดนั้นควรพิจารณาลักษณะของดิน ภูมิประเทศ ปริมาณน้้าฝน และการใช๎ประโยชน๑ที่ดิน โดยเลือก

                       วิธีการผสมผสานมาตรการให๎เหมาะสมเพื่อให๎การท้าการเกษตรเกิดความยั่งยืน และชํวยเสริมให๎การ
                       อนุรักษ๑ดินและน้้ามีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

                                     1) มาตรการวิธีกล (Mechanical measures) เป็นวิธีการปรับสภาพของพื้นที่ เพื่อ
                       ลดความยาวและความลาดเทของพื้นที่ เพื่อลดความสามารถในการเคลื่อนย๎ายตะกอนดิน โดยการ

                       สร๎างสิ่งกีดขวางความลาดเทของพื้นที่และทิศทางการไหลของน้้า เพื่อชํวยควบคุมน้้าไหลบําหน๎าดิน
                       ลดและชะลอความเร็วของกระแสน้้า วิธีการนี้ต๎องใช๎เทคนิคความรู๎ แรงงาน เครื่องมือและงบประมาณ

                       สูง ซึ่งการใช๎มาตรการอนุรักษ๑ดินและน้้าวิธีกลให๎เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และปัจจัยตําง ๆ ดังนี้
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71