Page 64 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่ม บ้านนาหมัน หมู่ที่ 4 ตำบลแม่จริม อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน
P. 64

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       51







                       คลุมดิน ความสามารถในการอุ๎มน้้าของดิน ความชื้นในดินและรูปรํางของพื้นที่รับน้้า รวมทั้งความเร็ว
                       ของการไหลบํา ฯลฯ อยํางมาก นอกจากนี้ สัมประสิทธิ์การไหลบําขึ้นอยูํกับความอิ่มน้้าของดิน เมื่อ
                       ฝนเริ่มตกครั้งแรกดินยังแห๎ง อัตราการซึมคํอนข๎างสูง (หรือคํา C  ต่้า) แตํเมื่อฝนตกไปได๎ระยะเวลา

                       หนึ่ง ๆ คําสัมประสิทธิ์การไหลบําจะสูงขึ้นตามล้าดับ ผลกระทบในลักษณะนี้ จะเกิดขึ้นกับฝนที่เกิดขึ้น
                       ภายหลังจากฝนหําแรก แตํวําการไหลบํา จะกํอรูปและไหลบําจริง ก็ตํอเมื่อเวลานับจากฝนเริ่มตกได๎

                       ผํานไปได๎ระยะหนึ่งแล๎ว ดังนั้น การที่จะสมมติวําน้้าไหลบําเกิดขึ้นพร๎อมกับฝนเริ่มตก และน้าเอา
                       ข๎อมูลมาวิเคราะห๑หาคํา C ยํอมท้าให๎เกิดการผิดพลาดขึ้นได๎ แตํอยํางไรก็ตามการประมาณคําของ C

                       โดยทั่วไป ก็จะได๎จากตารางที่พิมพ๑เผยแพรํไว๎แล๎วเทํานั้น ตารางที่ 10

                       ตารางที่ 10 คําสัมประสิทธิ์การไหลบํา (C)


                       ภูมิประเทศและต้นไม้ปกคลุม   ดินทรายปนดินตะกอน ดินเหนียวปนดินตะกอน ดินเหนียวเลน
                       พื้นที่เป็นป่า (Woodland)

                       ที่ราบ (ความลาดเท 0-5 %)            0.10                 0.30             0.40
                       ลูกคลื่น (ความลาดเท 5-10 %)         0.25                 0.35             0.50

                       เนิน (ความลาดเท 10-30 %)            0.30                 0.50             0.60
                       ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ (Pasture)

                       ที่ราบ (ความลาดเท 0-5 %)            0.10                 0.30             0.40

                       ลูกคลื่น (ความลาดเท 5-10 %)         0.16                 0.36             0.55
                       เนิน (ความลาดเท 10-30 %)            0.22                 0.42             0.60

                       พื้นที่เพาะปลูก (Cultivated)
                       ที่ราบ (ความลาดเท 0-5 %)            0.33                 0.50             0.60

                       ลูกคลื่น (ความลาดเท 5-10 %)         0.40                 0.60             0.70
                       เนิน (ความลาดเท 10-30 %)            0.52                 0.72             0.82


                       ที่มา: กรมพัฒนาที่ดิน (2531)

                              3.8.3 ความเข๎มของฝน (Rainfall  intensity:  i)  หมายถึง ปริมาณฝนที่ตกลงบนพื้นที่รับน้้าฝน

                       คิดเป็นความลึกน้้า ตํอ 1 หนํวย เวลา เชํน มิลลิเมตรตํอชั่วโมง เป็นต๎น ซึ่งความเข๎มของฝนจะมีมาก
                       น๎อยเพียงใด ขึ้นอยูํกับรอบปีของการเกิดซ้้า (Return  period)  และชํวงเวลาฝนตก (Rainfall
                       duration)  ที่ออกแบบ โดยที่รอบปีการเกิดซ้้า หมายถึงโอกาสที่จะเกิดฝนตกด๎วยความเข๎มฝน i  ใน

                       รอบปีที่ออกแบบ ซึ่งรอบปีการเกิดซ้้าขึ้นอยูํกับความส้าคัญและสภาพพื้นที่ที่เราออกแบบ
                              การวิเคราะห๑ข๎อมูลความสัมพันธ๑ของความเข๎มของฝน (Rainfall Intensity) กับชํวงเวลาของ

                       การตก (Duration) กับความถี่ของการเกิด (Frequency) และ สรุปไว๎ในรูปแบบของกราฟที่เรียกวํา
                       Rainfall Intensity - Duration - Frequency Curve หรือ IDF Curve
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69