Page 67 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่ม บ้านนาหมัน หมู่ที่ 4 ตำบลแม่จริม อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน
P. 67

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       54







                                            (1) การไถพรวนตามแนวระดับ (Contour  Tillage) เหมาะสมกับพื้นที่ที่มี
                       ความลาดเท 2-8 เปอร๑เซ็นต๑ และความยาวของความลาดเทไมํเกิน 100 เมตร ในพื้นที่ที่มีความแห๎ง
                       แล๎ง สามารถใช๎รํวมกับมาตรการอื่น ๆ เชํน คันดิน ชั้นบันไดดิน

                                            (2) คันดิน (Terrace) ใช๎ส้าหรับพื้นที่ความลาดเท 2-12 เปอร๑เซ็นต๑ คันดิน
                       ระดับมีความยาวไมํจ้ากัด ใช๎ในบริเวณที่มีปริมาณฝนตกน๎อย คันดินลดระดับมีความยาวไมํควรเกิน

                       300-600 เมตร หากความยาวเกินกวําที่ก้าหนดให๎จัดท้าทางระบายน้้าเป็นระยะ เพื่อลดความยาวของ
                       คันดินให๎อยูํภายในพิกัด

                                            (3) คันดินรับน้้ารูปครึ่งวงกลม (Semicircular Bund) และคันดินรับน้้ารูป
                       สี่เหลี่ยมคางหมู (Trapezoidal  Bund) เหมาะส้าหรับไรํนาขนาดเล็กที่ปลูกไม๎ยืนต๎น ในพื้นที่ที่มี

                       ปริมาณน้้าฝนน๎อยและดินเป็นดินทรายหรือดินรํวน
                                            (4)  คันดินเบนน้้า (Diversion  Terrace) เป็นคันดินขนาดใหญํที่กํอสร๎าง
                       ตอนบนสุดของพื้นที่ โดยสร๎างขึ้นขวางความลาดเทของพื้นที่ ต๎องมีการค้านวณและออกแบบอยําง

                       ถูกต๎องเพื่อป้องกันความเสียหายที่จะเกิดกับคันดินสํวนลําง
                                            (5)  ขั้นบันไดดิน (Bench  Terrace) เป็นการปรับพื้นที่เป็นขั้น ๆ ตํอเนื่องกัน

                       คล๎ายบันได เพื่อลดความยาวและระดับของความลาดเท
                                            (6) คูรับน้้าขอบเขา (Hillside Ditches) เหมาะกับพื้นที่ลาดเทน๎อยกวํา 40

                       เปอร๑เซ็นต๑ ถ๎าใช๎กับขั้นบันไดดินแบบลาดเอียงออกหรือแถบหญ๎าจะสามารถใช๎ได๎ในพื้นที่ลาดเท
                       มากกวํา 40  เปอร๑เซ็นต๑ ระยะหํางของคูรับน้้าขึ้นอยูํกับลักษณะภูมิประเทศและสิ่งแวดล๎อม เพื่อลด

                       ความยาวของความลาดเทพื้นที่ที่มีความลาดชันสูงออกเป็นชํวง ๆ เพื่อเก็บกักน้้าหรือระบายน้้าออกไป
                       ในทิศทางที่ต๎องการ ท้าให๎น้้าไหลบําแตํละชํวงมีปริมาณน๎อย ลดการกัดเซาะและการพังทลายของดิน
                                            (7)  ฐานปลูกไม๎ผลเฉพาะต๎น (Individual  Basin) ใช๎กับพื้นที่ความลาดชัน

                       ต่้าถึงลาดชันสูง ใช๎รํวมกับคูรับน้้าขอบเขา และดินมีการซึมน้้าเร็ว ใช๎กับพื้นที่ที่เป็นสวนผลไม๎เกําที่
                       ปลูกพืชไปแล๎วโดยไมํได๎วางระดับ

                                            (8) คันชะลอความเร็วของน้้า (Check  Dam) ใช๎กับพื้นที่ที่มีการชะล๎าง
                       พังทลายของดินแบบรํองลึก หรือในทางระบายน้้า
                                            (9) ทางระบายน้้า (Waterways) ส้าหรับพื้นที่ที่มีความลาดชันต่้าอาจปลูก

                       หญ๎าคลุมดิน เพื่อชะลอความเร็วของน้้าและรักษาทางระบายน้้า
                                            (10) บํอดักตะกอนดิน (Sediment Trap) เป็นบํอขนาดเล็กที่สร๎างขึ้นเพื่อ

                       ดักตะกอนที่ไหลมาตามทางระบายน้้ากํอนลงสูํบํอน้้าประจ้าไรํนา
                                            (11) บํอน้้าในไรํนา (Farm Pond) ใช๎ส้าหรับพื้นที่ลุํมมีน้้าขังโดยขุดดินตรง

                       จุดต่้าสุดเพื่อเก็บกักน้้า ในพื้นที่ที่มีน้้าไหลมาก็ท้าคันกั้นปิดมากักเก็บไว๎
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72