Page 63 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่ม บ้านนาหมัน หมู่ที่ 4 ตำบลแม่จริม อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน
P. 63

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       50







                       3.8 การประเมินอัตราและปริมาณน้ าไหลบ่า

                              3.8.1 วิธีเรชั่นแนล หรือวิธีอาร๑เอ็ม (Rational  Method)  หรือที่นิยมเรียกกันในประเทศ
                       อังกฤษวํา วิธี ลอยด๑-เดวีส (Liovd  –  Davies  method) ก้าหนดให๎อัตราน้้าไหลบํา มีความสัมพันธ๑

                       โดยตรงกับความเข๎มของฝน (ศุภโชค, 2542) ดังสมการ
                                                   Q = 0.278 CiA


                                     เมื่อ    Q คือ อัตราของน้้าไหลบําสูงสุด (ลูกบาศก๑เมตรตํอวินาที)
                                            C คือ คําสัมประสิทธิ์ของน้้าไหลบํา (coefficient)
                                             i  คือ  ความเข๎มเฉลี่ยของพายุฝนในชํวงเวลาที่น้้าไหลจากจุดไกลสุดของ

                       พื้นที่ถึง outlet (Time of concentration) (มิลลิเมตรตํอชั่วโมง)
                                            A คือ ขนาดของพื้นที่รับน้้า (ตารางกิโลเมตร)

                              วิธีอาร๑เอ็มนี้ใช๎ประมาณอัตราน้้าไหลบํา ให๎ความถูกต๎องแมํนย้าได๎ไมํดีนัก จะใช๎ได๎ดีเฉพาะกับ

                       พื้นที่ที่มีขนาดเล็ก (น๎อยกวํา 200 เอเคอร๑ หรือ น๎อยกวํา 506 ไรํ) วิธีอาร๑เอ็มนี้ ตั้งอยูํบนสมมติฐานที่
                       ส้าคัญ 4 ประการ คือ

                                     1)  คําสัมประสิทธิ์การไหลบํา เป็นคําคงที่ คํา C  นี้แม๎เป็นคําคงที่ส้าหรับพื้นที่ขนาด
                       เล็กหนึ่ง ๆ ในสภาพแวดล๎อมหนึ่ง ๆ ก็ตาม แตํเมื่อพิจารณาพื้นที่รับน้้าขนาดใหญํขึ้นไปแล๎ว คํา

                       สัมประสิทธิ์นี้จะแปรผันไปได๎ข๎นอยูํกับสภาพแวดล๎อมของพื้นที่ใหมํขึ้นนั้น วํามีความสามารถในการ
                       ไหลบําอยํางไร คําสัมประสิทธ๑การไหลบํานี้ เป็นคําคงที่ได๎เฉพาะส้าหรับลักษณะพื้นที่หนึ่ง ๆ และใน

                       สภาวะหนึ่ง ๆ เทํานั้น ในบริเวณที่มีขอบเขตจ้ากัดและมีข๎อมูลพื้นที่ผิว รวมทั้งใต๎พื้นที่ผิวเพียงพอ เรา
                       อาจทดลองหาคํา C  ของบริเวณนั้น ๆ ได๎โดยไมํยากนัก แตํเมื่อมีการเปลี่ยนสภาพแวดล๎อมหรือเมื่อ
                       พิจารณาพื้นที่ขนาดใหญํขึ้น ซึ่งมีพื้นที่หลายลักษณะประกอบเข๎าด๎วยกัน คํา C นี้ จะมีการแปรผันได๎

                       มาก ดังนั้นในการที่จะก้าหนดคํา C ให๎เป็นคําคงที่หนึ่ง ๆ ได๎แมํนย้าจึงกระท้าได๎ยาก
                                     2)  อัตราน้้าไหลบําสูงสุดที่จุดใด ๆ เป็นสัดสํวนโดยตรงกับความเข๎มเฉลี่ยของฝนที่ตก

                       ในชํวงเวลานับวําฝนตก (t ) นั่นเอง แตํถ๎าก้าหนดให๎อัตราน้้าไหลบําสูงสุด เป็นสัดสํวนกับอัตราสูงยอด
                                            c
                       ของฝนก็ไมํตรงกับความเป็นจริง เพราะฝนสูงยอดเกิดขึ้นในชํวงเวลาสั้น ๆ เพียงจุดหนึ่งเทํานั้น

                       ในขณะที่น้้าไหลบําเกิดขึ้นได๎ในชํวงเวลาที่นานกวําชํวงเวลาที่เกิดอัตราฝนสูงยอด
                                     3) เวลานับวําฝนตก (t ) ให๎ถือวําเทํากับเวลาที่น้้าไหลบํากํอตัวเป็นรูปรําง และไหล
                                                        c
                       จากจุดที่ไกลที่สุดของพื้นที่ระบายมายังจุดที่พิจารณาหรือออกแบบ
                                     4) ความถี่ของอัตราน้้าไหลบําสูงสุดเทํากับความถี่ของฝนที่ความเข๎มเฉลี่ยนั้น ๆ

                              3.8.2 สัมประสิทธิ์การไหลบํา (Runoff  Coefficient:  C)  เป็นตัวแปรที่ถูกก้าหนดให๎เป็น

                       คําคงที่ส้าหรับภาวะการณ๑หนึ่ง ๆ เป็นคําในอาร๑เอ็มที่หา หรือสมมติให๎แมํนย้าและถูกต๎องกับความจริง
                       ได๎ยากที่สุด คํานี้ถูกจับให๎เป็นสัดสํวนตายตัวส้าหรับพื้นที่รับน้้าหนึ่ง ๆ ทั้งที่ในทางจริง คํานี้แปรผันกับ

                       สภาพท๎องถิ่นตามฤดูกาล ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ อัตราการซึมลงดิน ความลาดของพื้นดิน สํวนปก
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68