Page 60 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่ม บ้านนาหมัน หมู่ที่ 4 ตำบลแม่จริม อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน
P. 60

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       47







                                     2) ความชื้นของดิน ปริมาณความชื้นของดินมีบทบาทตํอสมรรถนะการซึมน้้าผําน
                       ผิวดินอยํางมาก เมื่อเริ่มต๎นเกิดการซึมน้้านั้น ถ๎าดินแห๎งจะท้าให๎อัตราการซึมสูงมาก เนื่องจากแรงดึง
                       ภายในเม็ดดินและแรงดึงดูดของโลกสูง แตํถ๎าดินเริ่มเปียกพวกสารคอลลอยด๑ที่อยูํในดินจะพองตัว

                       เกิดการอุดรูดินมีสํวนลดการซึมน้้าผํานผิวดิน อีกทั้งมีสํวนท้าให๎แรงดึงดูดระหวํางเม็ดดินลดน๎อยลง

                                     3) ความแนํนทึบของผิวดิน เกิดจากเม็ดฝน คน และสัตว๑เหยียบย่้า การใช๎เครื่องจักร
                       จะท้าให๎ชํองวํางในดินน๎อยลง เพราะมีอนุภาคตําง ๆ เข๎าไปอุดรูดิน ส้าหรับความแนํนทึบของดินที่เกิด

                       จากเม็ดฝนมักเกิดกับพื้นที่ที่มีดินเนื้อละเอียดโดยจะเป็นการเข๎าแทรกในผิวดิน ท้าให๎ดินไมํสามารถรับ
                       การซึมตํอไปได๎ เพราะดินเหนียวที่เข๎าไปแทรกระหวํางรูดินนั้นอิ่มตัวแล๎ว


                                     4) การเปลี่ยนโครงสร๎างขนาดใหญํของดิน ฝนจะเป็นตัวการท้าให๎โครงสร๎างของดิน
                       ที่มีเนื้อหยาบจากการไถพรวนแตกสลายกลายเป็นดินขนาดเล็กได๎งําย ในดินบางชนิดโครงสร๎างนี้ อาจ

                       เปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากการชะล๎างของสารละลายตําง ๆ ในดิน ท้าให๎อัตราการซึมน้้าของดินลดลง

                                     5) ลักษณะและปริมาณพืชคลุมดิน เป็นปัจจัยที่มีความส้าคัญมากอยํางหนึ่ง เพราะ
                       พืชคลุมดิน เชํน ป่าไม๎ มีแนวโน๎มไปในทางที่ท้าให๎การซึมน้้าผํานผิวดินสูงขึ้น เพราะพืชคลุมดินจะ

                       ป้องกันมิให๎ฝนตกกระทบดินโดยตรง และยังชํวยเสริมสร๎างให๎เกิดชั้นของอินทรียวัตถุ ที่จะสามารถดูด
                       ซับน้้าได๎มากขึ้น การศึกษาสมรรถนะการซึมน้้าผํานผิวดิน อัตราการซึมน้้าผํานผิวดินในป่าเขตร๎อนมี
                       มากกวํา 500 มิลลิเมตรตํอชั่วโมง (ผการัตน๑, 2535) ซึ่ง เกษม และจรินทร๑ (2519) ได๎ศึกษาในป่าดิบ

                       เขาธรรมชาติลุํมน้้าห๎วยคอกม๎า จังหวัดเชียงใหมํ พบวํา อัตราการซึมน้้าผํานผิวดินระยะเริ่มแรก มี
                       คําเฉลี่ยประมาณ 1,112 มิลลิเมตรตํอชั่วโมง และถ๎าความชื้นของดินเพิ่มขึ้น 30 เปอร๑เซ็นต๑ คําอัตรา

                       เริ่มแรกของการซึมน้้าจะลดลงปริมาณครึ่งหนึ่ง คําอัตราการซึมน้้าผํานผิวดินคงที่ โดยเฉลี่ยประมาณ
                       280 มิลลิเมตรตํอชั่วโมง ส้าหรับ จารุชาติ และวารินทร๑ (2540) ได๎ศึกษาในพื้นที่ลุํมน้้าห๎วยทรายขาว

                       จังหวัดนครศรีธรรมราช พบวํา สวนยางพารา สวนไม๎ผล พื้นที่สวนผสม และพื้นที่ป่าทดแทน รุํนที่ 2
                       มีอัตราการซึมน้้าผํานผิวดินเริ่มแรก 492.74, 336.2, 528.64 และ 306.85 เซนติเมตรตํอชั่วโมง สํวน

                       อัตราการซึมน้้าผํานผิวดินคงที่ มีประมาณ 112.83, 75.38, 123.72 และ 72.28 เซนติเมตรตํอชั่วโมง
                       นอกจากนี้ พีรชัย (2537) ได๎ศึกษาสมรรถนะการซึมน้้าผํานผิวดินบริเวณสถานีวิจัยเพื่อรักษาต๎นน้้า
                       ห๎วยหินดาด จังหวัดระยอง พบวํา ป่าธรรมชาติมีสมรรถนะการซึมน้้าผํานผิวดินคงที่สูงสุด คือ 516

                       มิลลิเมตรตํอชั่วโมง สํวนสวนยางพารา อายุ 4 ปี สวนเพื่อป่าอนุรักษ๑ ไรํมันส้าปะหลัง สวนเงาะ อายุ 7 ปี
                       สวนทุเรียน อายุ 6 ปี สวนทุเรียน อายุ 20 ปี สวนเงาะ อายุ 17 ปี และสวนยางพารา อายุ 15 ปี มีการซึม

                       น้้าผํานผิวดินคงที่ ประมาณ 312, 256, 253, 160, 148, 136, 132 และ 54 มิลลิเมตรตํอชั่วโมง
                       ตามล้าดับ

                           3.7.2 วิธีหาการซึมน้้าผํานผิวดิน

                           วิธีการหาการซึมน้้าของน้้าผํานผิวดิน เป็นงานที่ส้าคัญอยํางหนึ่งที่นักอนุรักษ๑ดินและน้้า

                       จะต๎องท้าการศึกษาให๎เข๎าใจอยํางถํองแท๎ เพราะเป็นงานชิ้นแรกที่นักอนุรักษ๑ดินและน้้าจะได๎ข๎อมูลใน
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65