Page 59 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่ม บ้านนาหมัน หมู่ที่ 4 ตำบลแม่จริม อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน
P. 59

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       46







                       ตารางที่ 9 คําปัจจัยเกี่ยวกับการปฏิบัติการอนุรักษ๑ดินและน้้า (P-factor)

                       ความลาดเท           การอนุรักษ์ป่าไม้                     ขั้นบันไดดิน
                                      การไถพรวน                      ร่องน้้ามีความลาดเท  Steep back slope
                       (เปอร์เซ็นต์)                 การปลูกพืชสลับ
                                      ตามแนวระดับ                 และปลูกหญ้าที่ระบายน้้าออก ระบายน้้าที่มีท่อน้้าใต้ดิน
                          1-2            0.60            0.30              0.12                0.05
                          3-8            0.50            0.25              0.10                0.05
                          9-12           0.60            0.30              0.12                0.05

                         13-16           0.70            0.35              0.14                0.05
                         17-20           0.80            0.40              0.16                0.06
                         21-25           0.90            0.45              0.18                0.06
                       ที่มา: สมเจตน๑ (2526)


                       3.7 การซึมน้ าผ่านผิวดิน

                           ดินเปรียบเสมือนอํางเก็บน้้าธรรมชาติ โดยเก็บน้้าไว๎ 3 ลักษณะ คือ ในรูปของสารเคมีมีอยูํ
                       ระหวํางรูดิน และเป็นฟิล๑มรอบเม็ดดิน น้้าที่เก็บไว๎ในดินนี้เกิดจากการที่น้้าฝนไหลซึมลงสูํดิน ปริมาณ

                       ที่น้้าจะถูกเก็บไว๎ในดินจะมากน๎อยนั้น ขึ้นอยูํกับสมบัติของดินและปริมาณน้้าที่จะซึมลงสูํดิน ดิน
                       ประกอบด๎วยวัตถุที่เป็นของแข็ง (อินทรีย๑และอนินทรีย๑วัตถุ) น้้าและอากาศ โดยปริมาตรแล๎วดินที่
                       เหมาะแกํการเพาะปลูกนั้นต๎องมีอนินทรีย๑วัตถุประมาณ 45 เปอร๑เซ็นต๑ อินทรียวัตถุ 5 เปอร๑เซ็นต๑

                       อากาศและน้้า ปริมาณรวมกัน 50 เปอร๑เซ็นต๑ ถ๎ามีน้้ามากอากาศจะน๎อย จะท้าการชดเชยกันเอง
                       สํวนประกอบดังกลําวนี้จะมีความแตกตํางกันไปแล๎วแตํชนิดของดิน เนื้อดิน และโครงสร๎างของดิน

                       สมบัติของดินดังกลําวจะมีผลจากการกํอก้าเนิดดิน เกิดจากปัจจัยทั้ง 5 ประการ คือ วัตถุแมํดิน
                       อากาศ (ความชื้นและอุณหภูมิ) ลักษณะภูมิประเทศ ระยะเวลา และพืชพรรณ ซึ่งมีสํวนที่ท้าให๎ดิน

                       ก้าเนิดเป็นชนิดตําง ๆ ส้าหรับการศึกษาเกี่ยวกับการซึมน้้าผํานผิวดิน พืชคลุมดิน มีบทบาทมากตํอ
                       ความสามารถในการให๎น้้าซึมลงสูํดิน

                           3.7.1 ปัจจัยที่มีผลตํอการซึมน้้าผํานผิวดิน

                           การซึมน้้าผํานผิวดิน จะขึ้นอยูํกับหลายปัจจัย ดังที่ เกษม (2551) กลําวไว๎ดังนี้
                                     1) สมบัติของดิน โดยสมบัติทางฟิสิกส๑ เชํน ความหยาบละเอียด โครงสร๎างรูพรุน

                       ความลึก สมรรถนะในการอุ๎มน้้าของดิน เป็นปัจจัยที่มีความส้าคัญอันดับแรก ที่มีบทบาทตํออัตราการ
                       ซึมน้้าผํานผิวดิน โดยดินที่มีความหยาบ เชํน ดินทราย น้้าสามารถซึมผํานได๎เร็วกวําดินละเอียดหรือ

                       ดินเหนียว ซึ่งเป็นผลมาจากขนาดชํองวํางในดินและรูพรุนของดินนั้น ดินที่มีรูพรุนขนาดใหญํ จะ
                       สามารถให๎น้้าซึมผํานดินดีกวํารูพรุนขนาดเล็ก ส้าหรับความลึกของดินจะมีผลเมื่อดินตื้น ก็จะท้าให๎ดิน

                       อิ่มตัวไปด๎วยน้้าเร็วขึ้น โอกาสจะเกิดขบวนการซึมน้้าผํานดินมีน๎อย (คณาจารย๑ภาควิชาปฐพีวิทยา,
                       2541; นิพนธ๑, 2542; Ward and William, 1995)
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64