Page 35 - การศึกษาธาตุอาหารในปุ๋ยหมักที่ผลิตจากกากตะกอนน้ำเสีย เทศบาลเมืองป่าตอง อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต
P. 35
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
28
ตารางที่ 7 (ต่อ)
ข้อพิจารณา วิธีการจัดการกากตะกอน
การหมัก การน าไปใส่ดิน การฝังกลบ การเผา
2. ด้านเศรษฐกิจ
2.1 เงินลงทุนในการ ปานกลางถึงสูง ค่อนข้างต่ า ค่อนข้างสูง สูงมาก
ก่อสร้าง
2.2 ค่าใช้จ่ายในการ ขึ้นอยู่กับระบบที่ ต่ า ค่อนข้างต่ า สูง
ด าเนินการ/ซ่อมบ ารุง ใช้
2.3 ผลพลอยได้จากกการ ปุ๋ยอินทรีย์จาก เป็นแหล่งอาหาร ปรับพื้นที่เป็น ได้พลังงานความ
ก าจัด การหมัก และปุ๋ยให้แก่พืช สวนสาธารณะ ร้อนจากการเผา
ได้
ได้ก๊าซมีเทนเป็น
เชื้อเพลิง
ที่มา : กรมควบคุมมลพิษ (2561)
ส าหรับประเทศไทย วิธีการก าจัดกากตะกอนที่เหมาะสม คือ การน ากากตะกอนมาใช้ประโยชน์
ทางการเกษตร เนื่องจากกากตะกอนจากระบบบ าบัดน้ าเสีย เช่น กากตะกอนจากระบบบ าบัดน าเสีย
กรุงเทพมหานคร มีศักยภาพความเป็นปุ๋ย และประเทศไทยเองก็มีความเหมาะสม เนื่องจากมีสภาพ
ภูมิอากาศที่มีอุณหภูมิสูง มีแสงแดดจ้าตลอดปี ซึ่งเป็นผลดีต่อการลดปัญหาเรื่องพยาธิวิทยาของกาก
ตะกอน อย่างไรก็ตามควรค านึงถึงปริมาณการปนเปื้อนของโลหะหนักในกากตะกอนว่าอยู่ในเกณฑ์ที่
ยอมรับได้หรือไม่
การน ากากตะกอนจากระบบบ าบัดน้ าเสียชุมชนมาใช้ประโยชน์ทางการเกษตรมีความน่าสนใจ มี
ความเป็นไปได้คุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์มากกว่าการก าจัดกากตะกอนด้วยวิธีอื่น ๆ และส่งผลกระทบต่อ
สภาพแวดล้อมน้อย (Webber และคณะ, 1984) กากตะกอนมีคุณสมบัติในการเป็นธาตุอาหรที่จ าเป็นต่อ
พืช ซึ่งประกอบด้วย ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และปริมาณอินทรียวัตถุ ซึ่งมีอยู่มากในตะกอน
ร่วมกับความสามารถในการสลายตัวของกากตะกอนท าให้กากตะกอนนั้น มีศักยภาพความเป็นปุ๋ยสูง ดัง
ตารางที่ 8 เป็นการเปรียบเทียบธาตุอาหารที่มีอยู่ในปุ๋ยทั่วๆ ไป กับกากตะกอน จะเห็นได้ว่ากากตะกอนมี
ธาตุอาหารที่พืชต้องการในปริมาณที่มากพอสมควรเมื่อเทียบกับปุ๋ยโดยทั่วไป