Page 34 - การศึกษาธาตุอาหารในปุ๋ยหมักที่ผลิตจากกากตะกอนน้ำเสีย เทศบาลเมืองป่าตอง อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต
P. 34
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
27
ตารางที่ 7 สรุปข้อเปรียบเทียบวิธีการจัดการกากตะกอนแบบต่างๆ
ข้อพิจารณา วิธีการจัดการกากตะกอน
การหมัก การน าไปใส่ดิน การฝังกลบ การเผา
1.ด้านเทคนิค
1.1 ความยากง่ายในการ
ด าเนินการและซ่อมบ ารุง
-ระดับของเทคโนโลยีที่ใช้ ระดับไม่สูง ระดับไม่สูง ระดับปานกลาง ระดับสูง
-ระดับความช านาญของ ระดับปานกลาง ระดับปานกลาง ระดับไม่สูง ระดับสูง
เจ้าหน้าที่ควบคุม
1.2 ประสิทธิภาพในการ
จัดการ
-ปริมาณกากตะกอนที่ ก าจัดได้ 100% ก าจัดได้ 100% ก าจัดได้ 100% ลดปริมาตรได้เกือบ
จัดการได้ 100% เถ้าที่เหลือ
น าไปฝังกลบ
-ความสามารถในการฆ่า ก าจัดได้ 70% ก าจัดได้ 70% ก าจัดได้เล็กน้อย ก าจัดได้ 100%
เชื้อโรค
1.3 ผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อม
-น้ าผิวดิน มีเล็กน้อย มีเล็กน้อย มีได้สูง ไม่มี
-น้ าใต้ดิน มีเล็กน้อย มีเล็กน้อย มีได้สูง ไม่มี
-อากาศ ไม่มี ไม่มี มีเล็กน้อย มีเล็กน้อย
-กลิ่น แมลง พาหะน าโรค อาจมีได้ อาจมีได้ มีได้สูง ไม่มี
1.4 ลักษณะสมบัติที่ ต้องเป็นสารที่ย่อย ต้องเป็นสารที่ย่อย รับกากตะกอน ต้องเป็นสารที่เผา
เหมาะสมต่อการใช้งาน สลายได้มีความชื้น สลายได้มีความชื้น ได้เกือบทุก ไหม้ได้มีค่าความ
50-70 % 50-70 % ประเภทยกเว้น ร้อนไม่ต่ ากว่า
กากตะกอนติด 4,500 kcal/kg
เชื้อหรือสารพิษ และความชื้นน้อย
กว่า 40%
1.5 ขนาดที่ดิน ใช้เนื้อที่ปานกลาง ใช้เนื้อที่มาก ใช้เนื้อที่มาก ใช้เนื้อที่น้อย