Page 30 - การศึกษาธาตุอาหารในปุ๋ยหมักที่ผลิตจากกากตะกอนน้ำเสีย เทศบาลเมืองป่าตอง อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต
P. 30

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                                                                                                        23


                   ตารางที่ 6 กรรมวิธีท าข้นสลัดจ์

                          กรรมวิธี             ชนิดของสลัดจ์                 ความนิยมและผล
                    ตกตะกอน              สลัดจ์ขั้นแรก             นิยมใช้และได้ผลดี

                    ตกตะกอน              สลัดจ์ขั้นแรกและเอเอส     ใช้มากโดยเฉพาะในโรงงานขนาดเล็กและ
                                                                   ตะกอนข้นร้อยละ 4-6
                    ตกตะกอน              เอเอส                     ไม่ใช้และได้ผลไม่ดี

                    ลอยตัวด้วยอากาศ      เอเอส                     นิยมใช้และได้ผลดี
                    หมุนเหวี่ยง          เอเอส                     ใช้น้อยและมีปัญหา

                   ที่มา : กรมโรงงานอุตสาหกรรม (2552)

                          การปรับเสถียรสลัดจ์  สลัดจ์ระบบบ าบัดน้ าเสียมีส่วนประกอบ คือ สารอินทรีย์ที่สามารถเน่า
                   เปื่อยและย่อยสลายได้ท าให้เกิดกลิ่นเหม็นเป็นที่น่ารังเกียจ การปรับเสถียรสลัดจ์มีวัตถุประสงค์เพื่อลด
                   กลิ่นเหม็นลดจ านวนเชื้อโรคและการเน่าเปื่อยของสลัดจ์ โดยกรรมวิธีที่ใช้ ได้แก่ การออกซิไดซ์ด้วยคลอรีน

                   กระท าโดยให้ก๊าซคลอรีนปริมาณสูง ท าปฏิกิริยากับสลัดจ์ในถังปิดในเวลาสั้น ๆ วิธีนี้มีขีดจ ากัดในการใช้
                   กับโรงบ าบัดน้ าเสียที่มีขนาดเล็กกว่า 0.2 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที การเปลี่ยนสภาพด้วยปูนขาว กระท าโดย
                   เติมปูนขาวให้ตะกอนมีค่า pH สูงถึง 12 ที่ค่า pH นี้ จุลินทรีย์ไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้ มีผู้พบว่าหากคงค่า

                   pH ที่ 12 ไว้นาน 3 ชั่วโมง จะสามารถฆ่าจุลินทรีย์ได้ดีกว่าการย่อยแบบไร้อากาศ แต่หลังจากเปลี่ยน
                   สภาพแล้วสารอินทรีย์ที่คงอยู่อาจเน่าเปื่อยได้อีกเมื่อค่า pH ต่ าลง การย่อยแบบไร้อากาศ อาศัยการท างาน
                   ของแบคทีเรีย 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่สร้างมีเทน ดังนั้น จึงจ าเป็นต้องรักษาสภาวะแวดล้อมให้เหมาะสมต่อการ
                   ท างานร่วมกันอย่างต่อเนื่องของแบคทีเรียทั้ง 2 กลุ่ม หากการท างานของแบคทีเรียกลุ่มหนึ่งเปลี่ยนไป ก็
                   จะมีผลต่อการท างานของแบคทีเรียอีกกลุ่มหนึ่งและประสิทธิภาพโดยรวมของระบบได้ การย่อยแบบใช้

                   อากาศ อาศัยแบคทีเรียกลุ่มที่ใช้อากาศสามารถจ าแนกได้เป็น 2 ขั้นตอน ดังนี้ คือ ขั้นตอนที่ 1 เป็น
                   กระบวนการน าสารอินทรีย์หรือสารอาหารเข้าไปในเซลล์ โดยจุลินทรีย์จะส่งเอนไซม์ออกมาย่อยสลาย
                   สารอินทรีย์ที่มาเกาะติดที่ผนังเซลล์เพื่อเปลี่ยนให้อยู่ในรูปของสารโมเลกุลเล็กที่จะสามารถผ่านเข้าไปใน

                   เซลล์ของจุลินทรีย์ได้ ขั้นตอนที่ 2 เป็นกระบวนการทางชีวเคมีภายในเซลล์จุลินทรีย์ เพื่อที่จะผลิตพลังงาน
                   ไปใช้ในกิจกรรมต่างๆ และการสร้างเซลล์ใหม่ เมื่อสารอินทรีย์ในน้ าเสียถูกเปลี่ยนรูปมาเป็นจุลินทรีย์เซลล์
                   ใหม่ จะรวมกันเป็นฟล็อกก็จะมีน้ าหนักมากขึ้น และแยกออกจากน้ าเสียได้ง่ายด้วยการตกตะกอน
                          การแยกน้ าออก ซึ่งการแยกน้ าออกจากสลัดจ์ช่วยลดปริมาณสลัดจ์ที่จะต้องน าไปก าจัดในขั้น

                   สุดท้ายเป็นการลดค่าใช้จ่าย นอกจากสลัดจ์ที่แห้ง  (น้ าน้อยกว่าร้อยละ 70) สามารถขนถ่าย ตัก บรรทุกได้
                   ง่ายในการถมที่ควรใช้สลัดจ์แห้งเพื่อป้องกันน้ าเสียไหลซึมออกไป กรรมวิธีที่ใช้ในการแยกน้ าได้แก่ การ
                   กรองด้วยสุญญากาศ การเหวี่ยง การกรองด้วยแรงอัด การกรองด้วยสายพาน การตากสลัดจ์ และบ่อกัก
                   สลัดจ์ การเลือกใช้วิธีแยกน้ าขึ้นอยู่กับชนิดของสลัดจ์ ความแห้งที่ต้องการ และขนาดของที่ดิน โรงบ าบัด

                   น้ าเสียขนาดเล็กที่มีที่ดินเพียงพอมักใช้ลานตากสลัดจ์หรือบ่อกักสลัดจ์ ส าหรับโรงบ าบัดสลัดจ์ที่มีพื้นที่
                   น้อยควรใช้เครื่องจักรกลในการแยกน้ า เช่น เครื่องอัดกรอง สายพานรีดน้ า หรือเครื่องหมุนเหวี่ยง การ
                   ก าจัดน้ าของเครื่องอัดกรองท างานโดยใช้เครื่องสูบสลัดจ์ที่มีแรงดันสูงอัดน้ าผ่านผ้ากรองให้ออกจากสลัดจ์
                   เครื่องอัดสลัดจ์ประเภทนี้ประกอบด้วยผ้ากรองสี่เหลี่ยมขนาดต่างๆ วางประกบกันในแนวนอนที่ตั้งฉากกับ

                   พื้น สลัดจ์จะถูกสูบเข้าไปในช่องระหว่างผ้ากรองด้วยความดันสูงผ้ากรองจะบรรจุอยู่ในกรอบที่เป็นโครง
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35