Page 16 - การเปรียบเทียบชนิดปุ๋ยที่เหมาะสมต่อการปลูกข้าวสังข์หยดในกลุ่มชุดดินที่ 6 จังหวัดพัทลุง
P. 16

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         5



                   สุขภาพ ส าหรับเด็กและหญิงมีครรภ์  โดยจังหวัดพัทลุงมีลักษณะของพื้นที่เป็นที่ราบ ทอดตัวอยู่ระหว่าง
                   แนวเขาบรรทัดและทะเลสาบสงขลาด้านตะวันออก บริเวณเหล่านี้เป็นที่ราบต่ า น้ าท่วมถึง ซึ่งเกิดจากการ
                   ทับถมของตะกอนล าน้ า ในบริเวณที่ลุ่มริมฝั่งน้ า รวมถึงบริเวณสันดินริมน้ า ซึ่งเกิดจากล าน้ าพัดพาตะกอน

                   มาทับถมริมฝั่งในระหว่างหน้าน้ าหลาก พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ตอนกลางๆ ของจังหวัด มีอาณาเขตแผ่กว้าง และ
                   ค่อนข้างขนานไปตามแนวฝั่งทะเลสาบ เป็นพื้นที่ดินที่มีแหล่งก าเนิดจากหิน ที่มีช่วงอายุตั้งแต่แคมเบรียน
                   ถึงควอเตอร์นารี ประมาณ 2 ล้านปีที่ผ่านมา โดยการเปลี่ยนแปลงในยุคก่อนนั้น มีน้ าทะเลท่วมพื้นที่
                   บางส่วน เกิดสันทรายขึ้นเป็นแนวยาว มีการตกตะกอนอันเป็นพื้นที่ชายฝั่งของพัทลุง เนื่องจากการท างาน

                   ของแม่น้ าล าคลองและทะเลแผ่กระจายอย่างกว้างขวางมาก ครอบคลุมบริเวณประมาณเกือบครึ่งหนึ่งของ
                   พื้นที่จังหวัดพัทลุงเหมาะสมส าหรับท านา (ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง, 2549) โดยเมื่อเปรียบเทียบพื้นที่เพาะปลูกข้าว
                   สังข์หยดพบว่า ในปี 2559/60 มีพื้นที่ปลูกข้าวสังข์หยด จ านวน 19,142 ไร่ เพิ่มขึ้นจากปี 2556/57 ซึ่งมี

                   พื้นที่ปลูกข้าวสังข์หยด จ านวน 11,245.25  ไร่  (ตารางที่ 2)

                    ตารางที่ 2  ข้อมูลการผลิตข้าวสังข์หยดจังหวัดพัทลุง ปี พ.ศ. 2556/57 ถึง 2559/2560

                                                               พื้นที่เพาะปลูก (ไร่)
                     ที่  อ าเภอ
                                         ปี 2556/57           ปี 2557/58        ปี 2558/59        ปี 2559/60

                     1  เมือง                1,260.00         3,840.25               2,199        1,924

                     2  เขาชัยสน               270.00         2,106.25               1,221        1,300

                     3  ควนขนุน                408.00         4,025.00               6,530        6,421

                     4  ปากพะยูน             5,265.25         2,392.00               3,882        4,051

                     5  กงหรา                1,850.00          155.00                  112           46

                     6  ตะโหมด                 495.00          748.00                  392         597

                     7  ป่าบอน                 187.00         2,779.00               2,036        3,094

                     8  ศรีบรรพต               370.00          484.00                  518         495

                     9  บางแก้ว                890.00          917.00                  720         418

                     10  ป่าพะยอม              205.00         1,456.00               1,050         516

                     11  ศรีนครินทร์            45.00          319.50                  121         281

                              รวม           11,245.25        19,222.00            18,781         19,142

                   ที่มา: ส านักงานเกษตรจังหวัดพัทลุง (2560)
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21