Page 35 - การปรับปรุงบำรุงดินนาข้าวในศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ตำบลหนองกรด อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์
P. 35

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       28







                       ต่อไร่ คิดเป็นปริมาณธาตุไนโตรเจนประมาณ 10-15  กิโลกรัมต่อไร่ จากการวิเคราะห์โสนคางคกมี
                       ปริมาณธาตุอาหารหลักคือ ไนโตรเจน 1.84  เปอร์เซ็นต์  ฟอสฟอรัส 0.43  เปอร์เซ็นต์  โพแทสเซียม

                       2.10  เปอร์เซ็นต์  แคลเซียม 0.70 เปอร์เซ็นต์ แมกนีเซียม 1.58 เปอร์เซ็นต์ และซัลเฟอร์ 0.30
                       เปอร์เซ็นต์ โสนคางคกเมื่ออายุ 52 วัน มีอัตราการสะสมไนโตรเจนต่อวันสูงสุด คือ 0.3 กรัมไนโตรเจน

                       ต่อไร่ แต่ปริมาณไนโตรเจน  ทั้งหมดของโสนคางคกอายุ 57  วัน สูงสุดคือ 16.94  กิโลกรัมต่อไร่
                       ในขณะที่โสนคางคกอายุ 52 วัน สะสมไนโตรเจน 15.78 กิโลกรัมไนโตรเจนต่อไร่ อายุในการไถกลบ

                       พืชปุ๋ยสด ต้องพิจารณาอายุของพืชเป็นส าคัญ พืชปุ๋ยสด จะมีปริมาณของอาหารธาตุไนโตรเจน และ

                       น้ าหนักพืชสดสูงสุด เมื่อเริ่มออกดอกจนถึง ดอกบานเต็มที่ จึงควรท าการตัดสับและไถกลบในช่วงนี้
                       ทั้งยังเป็นช่วงที่พืช สลายตัวได้เร็ว ถ้าอายุพืชเกินช่วงนี้ ปริมาณธาตุไนโตรเจนจะลดลง อายุของพืชปุ๋ย

                       สดบางชนิดที่เหมาะสมแก่การไถกลบ โดยค านึงถึงน้ าหนักของพืชสดก่อนการไถกลบและเปอร์เซ็นต์

                       ธาตุไนโตรเจนที่จะได้รับดังต่อไปนี้

                       ตารางที่ 5 ระยะเวลาไถกลบ น้ าหนักสด และ ปริมาณธาตุอาหารบางชนิดของพืชปุ๋ยสด

                                        ระยะเวลา    น้ าหนัก  อัตราส่วน         ปริมาณธาตุอาหาร (%)

                        ชนิดปุ๋ยพืชสด    ไถกลบ        สด        C:N
                                          (วัน)     (ตัน/ไร่)   ของพืช  N        P      K      Ca     Mg

                       โสนอัฟริกัน        45-60      2-3       18.30    2.87     0.42  2.06  0.82  1.74
                       โสนจีนแดง          45-60      1-2       18.93    2.85     0.43  2.10  0.79  1.83
                       โสนอินเดีย         60-70      1.5-3     17.83    2.85     0.46  2.83  1.96  2.14

                       ปอเทือง            45-50      1.5-3     19.96    2.76     0.22  2.40  1.53  2.04
                       ถั่วพุ่มด า        40-50      1-3       19.51    2.68     0.39  2.46  -        -
                       ถั่วพร้า           45-60      1.5-3     21.11    2.72     0.54  2.14  1.19  1.56

                       มะแฮะ               45        2-4       27.33    2.34     0.25  1.11  1.45  1.92

                       ที่มา: กรมพัฒนาที่ดิน (2545)

                              การขยายพันธุ์พืชปุ๋ยสด กรมพัฒนาที่ดิน (2550) ระบุถึงวิธีการผลิตและเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์
                       พืชปุ๋ยสดควรยึดหลักดังนี้

                              พื้นที่ปลูก  การปลูกพืชปุ๋ยสดเพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์นั้นควรค านึงถึงพื้นที่ปลูกเป็นส าคัญ  ใน

                       เบื้องต้นคือ ควรเป็นพื้นที่ราบสม ่าเสมอ  ไม่ควรเป็นพื้นที่ลาดชันมาก  และไม่มีน้ าขัง  มีความอุดม
                       สมบูรณ์ของดินดีหรือปานกลาง  มีการระบายน ้าดี  เป็นดินที่ไม่มีปัญหา เช่น ดินเปรี้ยว ดินเค็ม

                       เหล่านี้ไม่ควรใช้เป็นพื้นที่ส าหรับผลิตเมล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยสดเพราะจะท าให้ผลผลิตต่ า

                              ฤดูที่ปลูก  หากเป็นการปลูกในพื้นที่เขตชลประทานนั้นเราสามารถท าการปลูกได้ในทุกฤดู
                       เพราะมีน้ าจากการชลประทานสม่ าเสมอ แต่ถ้าหากเป็นพื้นที่ในเขตเกษตรน้ าฝนต้องค านึงถึงอายุการ
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40