Page 39 - การปรับปรุงบำรุงดินนาข้าวในศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ตำบลหนองกรด อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์
P. 39

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       32







                       ระดับสูง และมีค่า โพแทสเซียมที่สกัดได้ (Extr.K) เฉลี่ยเท่ากับ 55.5 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมอยู่ในระดับ
                       ต่ า

                                   ผลวิเคราะห์ดินหลังเก็บเกี่ยว พบว่า มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดิน  เฉลี่ยเท่ากับ
                       5.3 อยู่ในระดับเป็นกรดจัด มีปริมาณอินทรียวัตถุ เฉลี่ยเท่ากับ 0.82 เปอร์เซ็นต์ อยู่ในระดับต่ า ค่า

                       ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ เฉลี่ยเท่ากับ 26 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม อยู่ในระดับสูง และมีค่า
                       โพแทสเซียมที่สกัดได้ เฉลี่ยเท่ากับ 52.5 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม อยู่ในระดับต่ า

                                     2) แปลงสาธิตการปรับปรุงบ ารุงดิน

                                     ผลวิเคราะห์ดินก่อนเพาะปลูก พบว่า มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดิน เฉลี่ย
                       เท่ากับ 5.8 อยู่ในระดับเป็นกรดปานกลาง มีปริมาณอินทรียวัตถุ เฉลี่ยเท่ากับ 1.10 เปอร์เซ็นต์ อยู่ใน

                       ระดับค่อนข้างต่ า ค่าฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ เฉลี่ยเท่ากับ 23.5 มิลิกรัมต่อกิโลกรัมอยู่ในระดับสูง

                       และมีค่า โพแทสเซียมที่สกัดได้ เฉลี่ยเท่ากับ 48.0 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม อยู่ในระดับต่ า
                                     ผลวิเคราะห์ดินหลังเก็บเกี่ยว พบว่า มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดิน เฉลี่ยเท่ากับ

                       6.6 อยู่ในระดับเป็นกลาง มีปริมาณอินทรียวัตถุ เฉลี่ยเท่ากับ 1.26 เปอร์เซ็นต์ อยู่ในระดับค่อนข้างต่ า
                       ค่าฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ เฉลี่ยเท่ากับ 33.5 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม อยู่ในระดับสูง และมีค่า

                       โพแทสเซียมที่สกัดได้ เฉลี่ยเท่ากับ 47.0 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม อยู่ในระดับต่ า
                                     ผลการวิเคราะห์ดินก่อนเพาะปลูกและหลังเก็บเกี่ยว พบว่าในแปลงสาธิตการ

                       ปรับปรุงบ ารุงดิน ที่มีการไถกลบตอซัง การใช้ปอเทืองเป็นปุ๋ยพืชสด มีแนวโน้มที่ท าให้ดินมีความอุดม

                       สมบูรณ์เพิ่มมากขึ้นกว่าแปลงที่ไม่ใช้ปุ๋ยพืชสด ซึ่งมีรายละเอียดปรากฏดังนี้
                              1) ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดิน (pH)

                              แปลงเกษตรกร พบว่ามีค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดิน  ลดลง คือ ก่อนเพาะปลูก ค่าความ

                       เป็นกรดเป็นด่างของดิน  อยู่ที่ระดับเป็นกรดปานกลาง ผลวิเคราะห์หลังเก็บเกี่ยว พบค่าความเป็น
                       กรดด่าง อยู่ที่ระดับเป็นกรดรุนแรง

                              แปลงสาธิตการปรับปรุงบ ารุงดิน พบค่าความเป็นกรดด่างของดิน  ทั้งก่อนเพาะปลูกและหลัง
                       เก็บเกี่ยว ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดิน  ไม่เปลี่ยนแปลง คือมีค่าความเป็นกรดด่างของดิน อยู่ใน

                       ระดับเป็นกรดปานกลาง
                              2) ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (OM)

                              แปลงเกษตรกร พบว่าปริมาณอินทรียวัตถุ ทั้งก่อนเพาะปลูกและหลังเก็บเกี่ยว ไม่มีความ

                       แตกต่าง  คือปริมาณอินทรียวัตถุ อยู่ในระดับต่ า แต่ปริมาณอินทรียวัตถุ  หลังเก็บเกี่ยวมีปริมาณ
                       อินทรียวัตถุที่ลดลง 0.05 เปอร์เซ็นต์หรือลดลง 1.25 เปอร์เซ็นต์
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44