Page 40 - การปรับปรุงบำรุงดินนาข้าวในศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ตำบลหนองกรด อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์
P. 40

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       33







                              แปลงสาธิตการปรับปรุงบ ารุงดิน พบว่าปริมาณอินทรียวัตถุ  ทั้งก่อนเพาะปลูกและหลังเก็บ
                       เกี่ยว ไม่มีความแตกต่าง คือปริมาณอินทรียวัตถุ อยู่ในระดับต่ า แต่ปริมาณอินทรียวัตถุ  หลังเก็บเกี่ยว

                       มีปริมาณที่เพิ่มขึ้น 0.16 เปอร์เซ็นต์หรือเพิ่มขึ้น 15.39 เปอร์เซ็นต์
                              3) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (Avail.P)

                              แปลงเกษตรกร พบว่าปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ ทั้งก่อนเพาะปลูกและหลังเก็บเกี่ยว
                       ไม่มีความแตกต่าง คือปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ อยู่ในระดับสูง แต่มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็น

                       ประโยชน์ เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น 4 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม หรือเพิ่มขึ้น 20.0 เปอร์เซ็นต์

                              แปลงสาธิตการปรับปรุงบ ารุงดิน พบว่าปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ ทั้งก่อนเพาะปลูก
                       และหลังเก็บเกี่ยว ไม่มีความแตกต่าง คือปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ อยู่ในระดับสูง แต่มี

                       ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ เพิ่มขึ้น 10 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม หรือเพิ่มขึ้น 44.05 เปอร์เซ็นต์

                              4) ปริมาณโพแทสเซียมที่สกัดได้ (Extr.K)
                              แปลงเกษตรกร พบว่า ปริมาณโพแทสเซียมที่สกัดได้ ทั้งก่อนเพาะปลูกและหลังเก็บเกี่ยว ไม่

                       มีความแตกต่าง คือปริมาณโพแทสเซียมที่สกัดได้ อยู่ในระดับต่ า
                              แปลงสาธิตการปรับปรุงบ ารุงดิน พบว่า ปริมาณโพแทสเซียมที่สกัดได้  ทั้งก่อนเพาะปลูก

                       และหลังเก็บเกี่ยว ไม่มีความแตกต่าง คือปริมาณโพแทสเซียมที่สกัดได้ อยู่ในระดับต่ า

                       ตารางที่ 6 ปริมาณธาตุอาหารเฉลี่ย ในดินแปลงเกษตรกรและแปลงสาธิตการปรับปรุงบ ารุงดินด้วย

                                         pH                 OM               Avail.P             Extr.K

                                                                                   -1
                                                                                                      -1
                                      (1:1 H O)             (%)             (mg kg )           (mg kg )
                                            2
                       วิธีการ      ก่อน      หลัง     ก่อน     หลัง      ก่อน     หลัง      ก่อน     หลัง
                                  เพาะปลูก  เก็บเกี่ยว  เพาะปลูก  เก็บเกี่ยว  เพาะปลูก  เก็บเกี่ยว  เพาะปลูก  เก็บเกี่ยว


                    แปลงเกษตรกร     5.60     5.53     0.87      0.82      22        26       55.5     52.5


                    แปลงสาธิตการ    5.80     6.06     1.10      1.26     23.5      33.5      48        47
                   ปรับปรุงบ ารุงดิน
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45