Page 50 - การใช้เทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินในการปลูกทุเรียนพันธุ์หมอนทองเพื่อพัฒนาเข้าสู่ระบบเกษตรอินทรีย์ ตำบลแหลมงอบ อำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด
P. 50

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       36







                              ประโยชน์ของสารควบคุมแมลงศัตรูพืชจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.7 คือ ป้องกันแมลงศัตรูพืช
                       เช่น เพลี้ยต่างๆ หนอนเจาะผลและล่าต้น หนอนใบผัก หนอนชอนใบ หนอนคืบ หนอนกระทู้ หนอน
                       กอ ไรแดง และแมลงหวี่ เป็นต้น


                       3.6 การใช้เทคโนโลยีชีวภาพควบคุมโรครากเน่าโคนเน่าในทุเรียน
                              โรครากเน่าโคนเน่าจัดเป็นโรคหนึ่งที่สร้างปัญหาให้แก่เกษตรกรผู้ผลิตทุเรียนเป็นอย่างมาก

                       สาเหตุของโรคเกิดจากเชื้อราเจริญเติบโตเข้าไปท่าลายทุเรียนทั้งที่โคนต้น กิ่งและราก ต้นที่เป็นโรคนี้
                       จะแสดงอาการใบด้าน ไม่เป็นมัน สีค่อยๆเปลี่ยนเป็นสีเหลืองและร่วงหล่น ต้นเน่าและใบเหี่ยว แผลที่
                       ต้นหรือกิ่งจะเน่าเป็นจุดฉ่่าน้่า เปลือกจะเน่าเป็นสีน้่าตาลและมีเมือกไหลออกมา ต้นทุเรียนยืนต้นตาย
                       โดยจะสังเกตได้ในเวลาเช้าหรือช่วงที่มีอากาศชื้น การป้องกันก่าจัดท่าได้โดยวิธีกล เช่น การตัดแต่งกิ่ง
                       ให้โปร่ง เพื่อให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก และเก็บส่วนที่เป็นโรคไปเผาท่าลาย ดูแลอย่าให้น้่าขังบริเวณ

                       โคนต้น ควบคุมด้วยวิธีการเขตกรรม เช่น การเสริมราก ใช้พันธุ์ต้านทาน เป็นต้นตอ การควบคุมโดย
                       ใช้สารเคมีพวกเมทาแลกซิล  หรือการใช้สารสกัดจากสมุนไพรฟ้าทะลายโจร  ซึ่งมีฤทธิ์ต้านเชื้อรา
                       Phytophthora  สาเหตุของโรค  ซึ่งพบระบาดรุนแรงในแหล่งปลูกภาคตะวันออกและภาคใต้ของ

                       ประเทศไทย (มาลัยพร และคณะ, 2553)
                              แนวทางที่เป็นไปได้ในการจัดการสวนทุเรียนแบบผสมผสาน  เพื่อลดการใช้สารเคมีอาจ
                       เลือกใช้สารจากธรรมชาติทดแทนสารเคมี 50 เปอร์เซ็นต์ เพื่อให้ต้นทุเรียนค่อยๆ เพิ่มความแข็งแกร่ง
                       ขึ้น และเป็นการฟื้นฟูสภาพสวนที่เคยมีการใช้สารเคมี 100 เปอร์เซ็นต์ ให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตาม

                       ธรรมชาติพร้อมกับมีศัตรูธรรมชาติเพิ่มขึ้น  สารธรรมชาติที่สามารถเลือกใช้ในการป้องกันก่าจัดโรคที่
                       สาคัญ เช่น โรครากเน่าโคนเน่าจากเชื้อ Phytopthora palmivova ใช้เชื้อไตรโครเดอร์มา ขมิ้นชัน
                       น้่าหมักจากใบของต้นเสม็ดขาว เป็นต้น สารจากธรรมชาติทดแทนสารเคมีในการป้องกันก่าจัดแมลง
                       เช่น สารสะเดา ข่า ตะไคร้ ปิโตเลี่ยมออยส์ น้าหมักจากใบเสม็ดขาว (สุขวัฒน์ และคณะ, 2545)

                                  เสียงแจ๋ว (ม.ป.ป.) รายงานไว้ว่า จากการส่ารวจต้นทุเรียนที่เป็นโรคโคนเน่าและโรคใบติดใน
                       พื้นที่ศูนย์พัฒนาไม้ผลตามพระราชด่าริ จังหวัดจันทบุรี เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2556 พบว่า มีต้น
                       ทุเรียนที่แสดงอาการโรคโคนเน่าและโรคใบติด จ่านวน 72 ต้น จากจ่านวนต้นทุเรียนที่ปลูกทั้งหมด
                       583 ต้น และมีระดับอาการของโรคค่อนข้างรุนแรงมาก โดยแสดงอาการเปลือกโคนล่าต้นเน่า

                       ใบเหลือง และร่วงมาก การแยกเชื้อสาเหตุของโรคโคนเน่าและโรคใบติดของทุเรียน จากเปลือกโคน
                       ล่าต้นพบว่าเป็นเชื้อโรคพืช ไฟทอปธอราเป็นสาเหตุโรคโคนเน่าของทุเรียน และจากใบทุเรียนพบว่า
                       เป็นเชื้อไรโซโตเนียสาเหตุโรคใบติดของทุเรียน  การทดสอบประสิทธิภาพของราไตรโคเดอร์มาที่เป็น
                       ปฏิปักษ์ต่อเชื้อสาเหตุโรคพืชไฟทอปธอรา และไรโซโตเนีย ในระดับห้องปฏิบัติการพบว่าราไตรโค

                       เดอร์มาสามารถเจริญได้เร็วกว่าเชื้อสาเหตุโรคพืชและยับยั้งการเจริญของเชื้อสาเหตุโรคพืชทั้ง 2 ชนิด
                       ได้ 100 เปอร์เซ็นต์  จากการด่าเนินงานผลิตและการใช้ผลิตภัณฑ์ราไตรโคเดอร์มาโดยใช้อาหารข้าว
                       ฟ่างผสมร่าหยาบ ผลิตได้จ่านวน 50 กิโลกรัม น่าผลิตภัณฑ์ราไตรโคเดอร์มามาท่าการละลายในน้่า
                       โดยใช้อัตราส่วนของหัวเชื้อ 10 กิโลกรัมต่อน้่า 500 ลิตร จึงท่าการฉีดพ่นสารละลายราไตรโคเดอร์มา

                       ลงดิน จ่านวน 10 ลิตรต่อต้น ท่าการฉีดพ่นลงดิน ล่าต้น และทรงพุ่มทั้งหมดของทุเรียน ได้เริ่ม
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55