Page 52 - การใช้เทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินในการปลูกทุเรียนพันธุ์หมอนทองเพื่อพัฒนาเข้าสู่ระบบเกษตรอินทรีย์ ตำบลแหลมงอบ อำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด
P. 52

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       38







                       45 ชุดดินชุมพร ซึ่งผลวิเคราะห์ดินมีค่าความเป็นกรดเป็นด่างเท่ากับ 6.0 ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน
                       5.94 เปอร์เซ็นต์ ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ 354 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์
                       105  มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม  ให้สามารถคืนความอุดมสมบูรณ์ให้กับดินได้  โดยนายฉลวย มีเนื้อที่
                       เพาะปลูกทั้งหมด 16  ไร่  ใช้ที่ดินในการปลูกไม้ผลผสม มีทั้งทุเรียน ลองกอง มังคุด จ่านวน 12  ไร่

                       ปลูกพริกไทย จ่านวน 12  ไร่ เป็นที่อยู่อาศัย โรงเรือน และสระเก็บน้่า จ่านวน 2  ไร่  มีปัญหาทาง
                       การเกษตร คือ  ดินเสื่อมโทรม เป็นกรดจัด พืชเจริญเติบโตช้าและให้ผลผลิตต่่า ประกอบกับมีการใช้
                       ปุ๋ยเคมีและสารเคมีในปริมาณสูง ท่าให้ต้นทุนการผลิตสูง
                              การน่าเทคโนโลยีชีวภาพของกรมพัฒนาที่ดิน มาใช้ปรับปรุงดินและเพิ่มผลผลิตพืชของนาย

                       ฉลวย ประกอบด้วย การผลิตน้่าหมักชีวภาพจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.2  ที่ได้จากการหมักปลา และ
                       ผลไม้ในสูตรต่างๆ  เช่น สูตรบ่ารุงต้น สูตรเร่งผล โดยสามารถผลิต และใช้ในพื้นที่ตนเอง ผลิตใช้ใน
                       กลุ่ม และผลิตเพื่อจ่าหน่ายให้เกษตรกรทั่วไป รวมประมาณ 20,000 ลิตรต่อปี ซึ่งน้่าหมักที่ผลิตได้จะ
                       น่ามาฉีดพ่นไม้ผล โดยผสมกับน้่าหรือปล่อยไปกับระบบภายในสวน การผลิตน้่าหมักชีวภาพจากสาร

                       เร่ง พด.6 ซึ่งผลิตจากเศษอาหาร น่ามาใช้ในการปรับปรุงบ่ารุงดินลดการใช้ปุ๋ยเคมี ลดต้นทุนการผลิต
                       โดยผลิตน้่าหมักจากเศษอาหารเพื่อใช้เอง และสนับสนุนกลุ่ม ประมาณ 2,000 ลิตรต่อปี การผลิตสาร
                       สกัดสมุนไพรไล่แมลง และรักษาโรคพืชจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.7 คิดค้นน้่าหมักสมุนไพรจากต้นมหา

                       ปราบ หมาก และเปลือกมังคุด สามารถใช้รักษาโรครากเน่าโคนเน่าในต้นทุเรียนได้

                       3.7 การลดใช้สารเคมีในทุเรียนเพื่อพัฒนาเข้าสู่ระบบเกษตรอินทรีย์

                              ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมได้น่าเอาเทคโนโลยีการเกษตรที่ใช้สารเคมีมาใช้อย่าง
                       แพร่หลาย เกิดธุรกิจการค้าขายปุ๋ยเคมี และสารเคมี ในปี 2557 มีมูลค่าการน่าเข้าปุ๋ยเคมี 66,375

                       ล้านบาท  และมูลค่าการน่าเข้าสารเคมีก่าจัดศัตรูพืช  22,812  ล้านบาท  (ส่านักงานเศรษฐกิจ
                       การเกษตร,  2557)  ถึงแม้ว่าเทคโนโลยีการเกษตรแบบใช้สารเคมีจะสามารถเพิ่มปริมาณผลผลิต

                       คุณภาพ  มีมูลค่าการส่งออกและท่ารายได้เข้าประเทศได้เพิ่มขึ้น  แต่เทคโนโลยีการเกษตรแบบใช้

                       สารเคมีดังกล่าว  ก่อให้เกิดผลกระทบต่อผู้ผลิต  ผู้บริโภค  และสภาพแวดล้อมโดยผู้ผลิตบางราย
                       เจ็บป่วย  บางรายเสียชีวิต  ปัจจุบันผู้ผลิตพืชผลทางการเกษตรจึงได้พยายามแสวงหาการเกษตรที่ไม่

                       ท่าลายสุขภาพและมีผลดีต่อสิ่งแวดล้อม  ในการผลิตทุเรียนก็เช่นกัน  การที่จะสามารถรักษาระดับ
                       ปริมาณผลผลิตทุเรียนคุณภาพ  ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดทั้งภายในและต่างประเทศ

                       จ่าเป็นต้องใช้เทคโนโลยีการผลิตที่ยุ่งยากซับซ้อนต้นทุนในการผลิตจึงค่อนข้างสูงอยู่ในราว  7,000-
                       12,000  บาทต่อไร่  เกษตรกรโดยทั่วไปมีการน่าสารเคมีมาใช้ในการผลิตค่อนข้างมาก  มีการฉีดพ่น

                       สารเคมีประมาณ  20-40  ครั้งต่อปี  ทั้งในรูปของปุ๋ยเคมี  สารป้องกันก่าจัดโรคและแมลง  สารก่าจัด

                       วัชพืช  และสารควบคุมการเจริญเติบโต  ซึ่งการฉีดพ่นสารเคมีบ่อยครั้ง  นอกจากต้นทุนการผลิตจะ
                       สูงขึ้นแล้วยังก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ใช้ และผู้บริโภคได้รับพิษประมาณปีละ 40 คน และ 5,000 คน

                       ต้องเข้าโรงพยาบาล (กรมวิชาการเกษตร, 2539) ดังนั้นเพื่อความอยู่รอดของเกษตรกรผู้ผลิตทุเรียน
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57