Page 47 - การใช้เทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินในการปลูกทุเรียนพันธุ์หมอนทองเพื่อพัฒนาเข้าสู่ระบบเกษตรอินทรีย์ ตำบลแหลมงอบ อำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด
P. 47

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       33







                       การพักตัวของเมล็ด พัฒนาการเกิดหน่อข้าง  ไซโตไคนิน  กระตุ้นการแบ่งเซลล์ การเจริญของตาข้าง
                       การขยายตัวของใบ เพิ่มอัตราการเกิดการสังเคราะห์แสง ท่าให้ใบพืชมีสีเขียวได้นานและร่วงหล่นช้า

                       ท่าให้เมล็ดงอกในที่มืด ส่งเสริมพืชให้มีประสิทธิภาพในการเคลื่อนย้ายอาหารจากรากไปสู่ยอดพืช
                       และกรดอะมิโน ช่วยการแตกยอดใหม่ของพืชเพิ่มขึ้น ท่าให้ก้านดอกยาวขึ้น เป็นสารตั้งต้นในการผลิต

                       ฮอร์โมนออกซิน ช่วยท่าให้ธาตุอาหารในน้่าหมักชีวภาพอยู่ในรูปของอะมิโนคีเลท พืชสามารถดึงไป
                       ใช้ได้อย่างรวดเร็ว  เมื่อน่าน้่าหมักชีวภาพไปพ่นที่ใบและรดลงดินจะสามารถส่งเสริมการเจริญเติบโต

                       ของพืชรวมถึงการติดดอกออกผลได้เป็นอย่างดี ส่าหรับการใช้น้่าหมักชีวภาพ ให้มีประสิทธิภาพนั้น

                       ควรใช้ควบคู่ไปกับการปรับปรุงบ่ารุงดินด้วยอินทรียวัตถุ แต่อย่างไรก็ตามปริมาณธาตุอาหารในน้่า
                       หมักชีวภาพก็ยังไม่เพียงพอกับความต้องการของพืช ดังนั้นจึงจ่าเป็นต้องใส่ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอกลง

                       ไปด้วย ส่วนปริมาณฮอร์โมน กรดฮิวมิก ธาตุอาหารหลักและธาตุอาหารรองในน้่าหมักชีวภาพแต่ละ

                       ชนิดจะมีปริมาณแตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับชนิดของวัตถุดิบที่น่ามาหมักและการใช้ประโยชน์น้่า
                       หมักชีวภาพในพื้นที่ทางการเกษตร

                              3.5.3 จุลินทรีย์ควบคุมเชื้อสาเหตุโรคพืชโดยใช้สารเร่งซุปเปอร์ พด.3
                              สารเร่งซุปเปอร์ พด.3 เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ควบคุมเชื้อสาเหตุโรคพืชในดิน มีคุณสมบัติพิเศษ คือ

                       สามารถท่าลายหรือยับยั้งการเจริญของเชื้อจุลินทรีย์ในดินในสภาพน้่าขังที่เป็นสาเหตุท่าให้เกิดอาการราก
                       เน่าหรือโคนเน่า ประกอบด้วยเชื้อราไตรโคเดอร์มา (Trichoderma  sp.) และบาซิลลัส  (Bacillus  sp.)
                       คุณสมบัติของสารเร่งซุปเปอร์ พด.3  ได้แก่ ป้องกันและควบคุมการเจริญของเชื้อสาเหตุโรคพืช
                       เศรษฐกิจหลายชนิด เช่น โรครากและโคนเน่าของไม้ผลและไม้ยืนต้น เช่น ทุเรียน ส้ม และยางพารา โรค

                       เน่าคอดินและล่าต้นเน่าของพืชไร่ เช่น อ้อย  มันส่าปะหลัง สับปะรด ข้าวโพด พืชเส้นใยและพืช
                       ตระกูลถั่ว  โรคเน่าและเหี่ยวของพืชผักและไม้ดอกไม้ประดับ  เช่น พริก มะเขือเทศ แตงกวา
                       กะหล่่าปลี เบญจมาศ และมะลิ เป็นต้น จุลินทรีย์สามารถเจริญได้ดีในดินที่มีอินทรียวัตถุสูงและมีความ
                       เป็นกรดเป็นด่างอยู่ระหว่าง 5.5-6.5 และช่วยแปรสภาพแร่ธาตุในดินให้อยู่ในรูปที่เป็นประโยชน์ต่อพืช

                       (กรมพัฒนาที่ดิน, 2551)
                              วิธีการขยายเชื้อสารเร่งซุปเปอร์ พด.3  โดยใช้วัสดุส่าหรับขยายเชื้อ  ประกอบด้วย ปุ๋ยหมัก
                       100 กิโลกรัม ร่าข้าว 1 กิโลกรัม น้่า 5 ลิตร และสารเร่งซุปเปอร์ พด.3 จ่านวน  1 ซอง วิธีการขยาย
                       เชื้อ คือ ผสมสารเร่งซุปเปอร์ พด.3  และร่าข้าวในน้่า 5  ลิตร  คนให้เข้ากันนาน 5  นาที  จากนั้นรด

                       สารละลายสารเร่งซุปเปอร์ พด.3  ลงในกองปุ๋ยหมักคลุกเคล้าให้เข้ากันและปรับความชื้นให้ได้ 60
                       เปอร์เซ็นต์ ตั้งกองปุ๋ยหมักเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าในที่ร่มให้มีความสูง 50 เซนติเมตร เป็นเวลา 7 วัน
                       ดูแลรักษาการขยายเชื้อสารเร่งซุปเปอร์ พด.3 โดยควบคุมความชื้นกองปุ๋ยหมักอย่างสม่่าเสมอและใช้

                       วัสดุคลุมกองปุ๋ยหมัก เพื่อรักษาความชื้น หลังจากขยายเชื้อเป็นเวลา 7 วัน เชื้อสารเร่งซุปเปอร์ พด.3
                       ในกองปุ๋ยหมักจะเพิ่มปริมาณสูงขึ้นโดยสังเกตได้จากกลุ่มของสปอร์และเส้นใยที่มีลักษณะสีเขียวเจริญ
                       อยู่ในกองปุ๋ยหมักเป็นจ่านวนมาก คลุกเคล้าให้เข้ากัน และน่าไปเก็บไว้ในที่ร่ม อัตราและวิธีการใช้ เชื้อ

                       สารเร่งซุปเปอร์ พด.3  ที่ขยายในกองปุ๋ยหมัก  ส่าหรับพืชไร่ พืชผัก  ไม้ดอก ไม้ประดับ ใช้อัตรา 100
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52