Page 48 - การใช้เทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินในการปลูกทุเรียนพันธุ์หมอนทองเพื่อพัฒนาเข้าสู่ระบบเกษตรอินทรีย์ ตำบลแหลมงอบ อำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด
P. 48

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       34







                       กิโลกรัมต่อไร่ โรยระหว่างแถวก่อนหรือหลังปลูกพืช ไม้ผล ไม้ยืนต้น ใช้อัตรา 3 กิโลกรัมต่อต้น ใส่ตอน
                       เตรียมหลุมปลูกโดยคลุกเคล้ากับดินใส่ไว้ในหลุม  และช่วงพืชเจริญเติบโตให้หว่านทั่วบริเวณทรงพุ่ม
                       ส่วนแปลงเพาะกล้า ใช้อัตรา 1 กิโลกรัมต่อพื้นที่ 10 ตารางเมตร โรยให้ทั่วแปลง
                              ประโยชน์ของเชื้อสารเร่งซุปเปอร์ พด.3 คือ ท่าลายและยับยั้งการเจริญของเชื้อสาเหตุโรคพืช

                       ในดิน  ลดและควบคุมปริมาณเชื้อสาเหตุโรคพืชในดิน  ท่าให้ดินมีธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อพืช

                       เพิ่มขึ้น รากพืชแข็งแรงและพืชเจริญเติบโตได้ดี ก่อนการใช้เชื้อสารเร่งซุปเปอร์ พด.3 ต้องปรับปรุง
                       บ่ารุงดินด้วยปุ๋ยอินทรีย์ เช่น  ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก ปุ๋ยพืชสด หรือ ไถกลบตอซัง ในพื้นที่เพาะปลูก โดย

                       อย่าให้น้่าท่วมขังในพื้นที่เพาะปลูก สามารถต่อเชื้อโดยการใช้ปุ๋ยหมักที่ขยายเชื้อสารเร่งซุปเปอร์ พด.3
                       แล้ว จ่านวน 2  กิโลกรัม แทนสารเร่งซุปเปอร์ พด.3  จ่านวน 1  ซอง จะสามารถขยายเชื้อได้จ่านวน

                       100 กิโลกรัม
                              3.5.4 สารป้องกันแมลงศัตรูพืชที่ผลิตจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.7

                              เป็นสารสกัดที่ได้จากการหมักพืชสมุนไพร โดยกิจกรรมจุลินทรีย์ประกอบด้วย สารออกฤทธิ์

                       และสารไล่แมลงที่อยู่ในพืชสมุนไพร รวมทั้งกรดอินทรีย์หลายชนิด เพื่อใช้ในการป้องกันและก่าจัด
                       แมลงศัตรูพืช (กรมพัฒนาที่ดิน, 2551)

                              สารเร่งซุปเปอร์ พด.7  เป็นเชื้อจุลินทรีย์ที่มีคุณสมบัติในการเพิ่มประสิทธิภาพการหมักและ

                       ย่อยสลายพืชสมุนไพรชนิดต่างๆ ในสภาพที่ไม่มีออกซิเจน เพื่อผลิตสารป้องกันแมลงศัตรูพืช
                       ประกอบด้วย ยีสต์ผลิตแอลกอฮอล์และกรดอินทรีย์  แบคทีเรียผลิตกรดอะซีติก  แบคทีเรียผลิตกรด

                       แลคติก
                              วัสดุส่าหรับผลิตสารควบคุมแมลงศัตรูพืช ใช้พืชสมุนไพรสด  ได้แก่ พืชสมุนไพร 30กิโลกรัม

                       กากน้่าตาล 10 กิโลกรัม  ร่าข้าว 100 กรัม  น้่า 30 ลิตร  และสารเร่งซุปเปอร์ พด.7 จ่านวน 1 ซอง
                       ส่วนวัสดุส่าหรับผลิตโดยใช้พืชสมุนไพรแห้ง ประกอบด้วย พืชสมุนไพร 10  กิโลกรัม  กากน้่าตาล 20

                       กิโลกรัม ร่าข้าว 100 กรัม น้่า 60 ลิตร และสารเร่งซุปเปอร์ พด.7 จ่านวน 1 ซอง

                              ชนิดพืชสมุนไพรที่ใช้ป้องกันพวกเพลี้ย ได้แก่ ตะไคร้หอม หางไหล สาบเสือ หนอนตายหยาก
                       บอระเพ็ด กระทกรก และข่า เป็นต้น  สมุนไพรป้องกันหนอนกระทู้ หนอนชอนใบ ได้แก่ ฟ้าทะลาย

                       โจร หางไหล ตะไคร้หอม เปลือกแค สาบเสือ หนอนตายหยาก สะเดา ว่านเศรษฐี และว่านน้่า เป็น

                       ต้น  สมุนไพรที่ป้องกันและเป็นพิษต่อแมลงวันทอง ได้แก่ หมาก เมล็ดน้อยหน่า เมล็ดเงาะ ยาสูบ
                       พริกไทยด่า ขิง และพญาไร้ใบ  สมุนไพรที่ไล่แมลงไม่ให้วางไข่ ได้แก่ ค่าแสด มะกรูด ตะไคร้ เมล็ด

                       ละหุ่ง มะนาว พริก และพริกไทย เป็นต้น
                              การใช้สารป้องกันแมลงศัตรูพืชจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.7 และชนิดพืชสมุนไพรให้มี

                       ประสิทธิภาพ ควรใช้ให้ถูกส่วนของพืช ในต้นพืชจะมีสารออกฤทธิ์ไม่เท่ากันทุกส่วนจึงควรเลือกใช้ส่วน
                       ของพืชที่มีสารออกฤทธิ์ในปริมาณสูง เพื่อมีประสิทธิภาพในการป้องกันแมลงศัตรูพืช เช่น สารสกัด
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53