Page 85 - การวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและคุณภาพที่ดินสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับลุ่มน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาลำเชิงไกร
P. 85

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       68







                       ด้วยแนวเส้นสันปันน้้าที่เริ่มตรงจุดไหลออกของลุ่มน้้าแล้วแผ่ครอบคลุมทั้งสองด้านของล้าน้้าไปจนถึง
                       ต้นน้้าล้าธาร ขนาดของพื้นที่ลุ่มน้้าจะใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ เมื่อเลื่อนจุดไหลออกไปทางท้ายน้้า จนในที่สุด
                       พื้นที่ลุ่มน้้าจะใหญ่ที่สุดที่จุดไหลออกสู่ทะเลขนาดของล้าน้้าและลุ่มน้้าสามารถจัดล้าดับจากเล็กไปหาใหญ่
                       ซึ่งมีความสัมพันธ์โดยตรงกับลักษณะการไหลของน้้าในล้าน้้า

                            3.6.2 การจัดแบ่งลุ่มน ้าในประเทศไทย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2552)
                       ได้จัดแบ่งลุ่มน้้าออกเป็น 3 ขนาด คือ
                                1) ลุ่มน้้าขนาดใหญ่  เป็นหน่วยพื้นฐานของทรัพยากรน้้า และสิ่งแวดล้อม เพื่อการ
                       วางแผนระดับประเทศ ส่วนใหญ่เป็นลุ่มน้้าล้าดับที่ 7  ขึ้นไป หรือบริเวณพื้นที่ลุ่มน้้าชายฝั่ง  พื้นที่

                       ประเทศไทยสามารถแบ่งเป็นลุ่มน้้าขนาดใหญ่ได้ 25 ลุ่มน้้า
                                2) ลุ่มน้้าขนาดกลาง  มีพื้นที่ประมาณ 1,000  -  5,000  ตารางกิโลเมตร เหมาะส้าหรับการ
                       วางแผนระดับจังหวัด โดยทั่วไปมีล้าน้้าหลักเป็นล้าน้้าล้าดับที่ 5 และ 6 เกิดจากลุ่มน้้าขนาดเล็กหลายลุ่ม
                       น้้ามารวมกัน ดังนั้น การพัฒนาลุ่มน้้าของจังหวัด จึงเป็นการพัฒนาลุ่มน้้าขนาดกลาง

                                3) ลุ่มน้้าขนาดเล็ก  มีพื้นที่ประมาณ 200  -  400  ตารางกิโลเมตร หรือมีหมู่บ้านประมาณ
                       40  -  50  หมู่บ้าน จะมีล้าน้้าสายหลักเป็นล้าน้้าล้าดับที่ 4  ลุ่มน้้าขนาดเล็กเหมาะกับการวางแผนพัฒนา
                       แหล่งน้้าระดับอ้าเภอ

                       3.7  งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง


                              ในการวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและคุณภาพที่ดินส้าหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับ
                       ลุ่มน้้าในพื้นที่ลุ่มน้้าสาขาล้าเชิงไกร พบว่ามีงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในการศึกษาข้อมูลด้านการประเมิน
                       ความเหมาะทางกายภาพ มีดังนี้
                                คณิต (2550) รายงานว่า การประเมินความเหมาะสมของที่ดิน ส้าหรับการปลูกหม่อน
                       ในอ้าเภอชะอ้า  จังหวัดเพชรบุรี  โดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อเปรียบเทียบและหา

                       ความสัมพันธ์ของความต้องการของพืชกับศักยภาพของที่ดิน ปัจจัยที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ อุณหภูมิ
                       ปริมาณน้้าฝนเฉลี่ย  ความลาดชันของพื้นที่  ความลึกของดิน  การระบายน้้าของดิน  และความอุดม
                       สมบูรณ์ของดิน การวิเคราะห์ใช้เทคนิคการซ้อนทับ (Overlay technique) ข้อมูลเชิงพื้นที่และการ

                       วิเคราะห์ข้อมูลคุณลักษณะ ด้วยวิธีการทางสถิติ เพื่อก้าหนดพื้นที่ซึ่งเหมาะสม ส้าหรับการปลูกหม่อน พบว่า
                       พื้นที่ที่ศึกษามีความเหมาะสมมาก สามารถใช้เป็นแนวทางในการวางแผนจัดการที่ดินเพื่อประกอบการตัดสินใจ
                       ในการคัดเลือกพื้นที่ส้าหรับการปลูกหม่อน ในอ้าเภอชะอ้า จังหวัดเพชรบุรี ได้ต่อไป
                                ชัยสงคราม และคณะ (2554) รายงานว่า การหาพื้นที่ที่เหมาะสมในการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักอยาง

                       มีประสิทธิภาพ จะต้องมีข้อมูลเพื่อน้ามาประเมินตามวิธีการองคการอาหารและเกษตรแหงสหประชา
                       ชาติ (FAO, 1976) ขอมูลที่ใชประเมิน ดานกายภาพ คือ แผนที่ดิน แผนที่การระบายน้้าของดิน แผน
                       ที่สภาพการใชที่ดิน แผนที่ประเภทปาไม แผนที่  ภูมิอากาศ แผนที่ความลาดชันของพื้นที่แผนที่
                       ปริมาณการชะลางพังทลายของดิน และขอมูลที่ใชประเมินดานเศรษฐกิจสังคมที่ไดจากสัมภาษณ

                       เกษตรกร โดยใชระบบสารสนเทศภูมิศาสตรในการประเมินความเหมาะสม ผลการศึกษา พบวามัน
                       ส้าปะหลังมีชั้นความเหมาะสมปานกลาง และเล็กนอยขอจ้ากัดสวนใหญ ไดแก ปริมาณฝนในชวงปลูก
                       มากเกินไป และคาปฏิกิริยาดินเปนกรดจัด สวนออยโรงงานมีชั้นความเหมาะสมปานกลางและเล็กนอย ขอจ้ากัด
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90