Page 83 - การวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและคุณภาพที่ดินสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับลุ่มน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาลำเชิงไกร
P. 83

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       66







                                      ชั้นมาตรฐาน        ปริมาณหินโผล่ (%)
                                    1) ปริมาณเล็กน้อย         1
                                    2) ปริมาณปานกลาง        4
                                    3) ปริมาณค่อนข้างมาก       10

                                    4) ปริมาณมาก            25
                                    5) พื้นที่หิน              >25

                                      ชั้นมาตรฐาน        ปริมาณก้อนหิน (%)
                                    1) ปริมาณเล็กน้อย         1
                                    2) ปริมาณปานกลาง        5

                                    3) ปริมาณค่อนข้างมาก       15
                                    4) ปริมาณมาก            40
                                    5) พื้นที่หินโผล่            >40

                                      ชั้นศักยภาพส้าหรับการใช้เครื่องจักรกล
                                      1) มีข้อจ้ากัดน้อยมาก

                                      2) มีข้อจ้ากัดปานกลาง
                                      3) มีข้อจ้ากัดมาก
                                      4) มีข้อจ้ากัดรุนแรง

                                      5) มีข้อจ้ากัดรุนแรงที่สุด
                       ตารางที่ 13 การจัดล้าดับชั้นศักยภาพการใช้เครื่องจักรกล


                                                                   ชั นศักยภาพส้าหรับการใช้เครื่องจักรกล
                         คุณลักษณะของที่ดิน     หน่วย
                                                             1        2         3         4          5
                       ความลาดชัน                 %         < 5      5-12     12-35     35-50       >50
                       หินพื้นโผล่                %          1        4        10        25         >25
                       หินก้อน (หินบน)            %          1        5        15        40         >40
                       ดินเหนียวจัด               -         ไม่มี    ไม่มี    มี/ไม่มี   มี/ไม่มี   มี/ไม่มี

                       หมายเหตุ : ค่าตัวเลขแสดงพิสัยทุกค่าเป็นค่าสูงสุด (upper limit) ในแต่ละชั้นศักยภาพ
                       ที่มา : บัณฑิต และค้ารณ, 2542

                                  11)  ความเสียหายจากการกัดกร่อน (Erosion hazard)
                                      คุณลักษณะที่ดินที่เป็นตัวแทนได้แก่ ความลาดชันของพื้นที่และปริมาณดินที่
                       สูญเสีย (Soil  loss)  พื้นที่มีความลาดชันสูงโอกาสที่ดินจะถูกกัดกร่อนก็เป็นไปได้ง่ายขึ้น เมื่อผิวหน้าดิน

                       ถูกกัดกร่อน ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากอิทธิพลของน้้า ดินจะถูกพัดพาไปโดยขบวนการไหลบ่าของน้้าท้าให้
                       ธาตุอาหารพืชที่อยู่ในดินสูญเสียตามไปด้วย รวมทั้งตะกอนที่เกิดขึ้นจะมีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม
                       โดยทั่วไป
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88