Page 84 - การวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและคุณภาพที่ดินสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับลุ่มน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาลำเชิงไกร
P. 84

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       67







                       3.5  การจ้าแนกชั นความเหมาะสมของที่ดิน (Land Suitability Classification)
                            จากหลักการของ FAO  Framework  ได้จ้าแนกอันดับความเหมาะสมของที่ดินเป็น 2 อันดับ
                       (Order) คือ

                              1) อันดับที่เหมาะสม (Order S, suitability)
                              2) อันดับที่ไม่เหมาะสม (Order N, not suitability)
                                และจาก 2 กลุ่ม ที่ได้แบ่งย่อยออกเป็น 4 ชั้น (class) ดังนี้
                                  S1 : หมายถึง ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง (Highly suitable)

                                  S2 : หมายถึง ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง (Moderately suitable)
                                  S3 : หมายถึง ชั้นที่มีความเหมาะสมเล็กน้อย (Marginally suitable )
                                  N  : หมายถึง ชั้นที่ไม่มีความเหมาะสม (Not suitable)
                              นอกจากนี้ในแต่ละชั้นความเหมาะสมยังแบ่งออกเป็นชั้นย่อย (Subclass) ซึ่งเป็นข้อจ้ากัด

                       ของคุณภาพที่ดินที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตของพืช ส้าหรับคู่มือฉบับนี้ได้ก้าหนดไว้ 11 ชนิด ดังที่
                       กล่าวมาแล้ว
                              ชั้นความเหมาะสมทั้ง 4 ชั้น สามารถก้าหนดโดยพิจารณาเปรียบเทียบกับผลผลิต โดยใช้ฐาน ดังนี้

                                S1 =  80-100% optimum yield,    S2 =  40-80% optimum yield
                                S3 =  20-40% optimum yield,     N  =  น้อยกว่า 20 % optimum yield
                              โดย optimum yield หมายถึง ระดับผลผลิตสูงสุดที่ได้จากการผลิตในสภาพที่มีสมบัติทางดิน
                       ลักษณะภูมิอากาศ พันธุ์พืช และการจัดการที่เหมาะสม

                       3.6  ลักษณะของลุ่มน ้า และพื นที่ลุ่มน ้า

                            3.6.1 ความหมายและค้าจ้ากัดความของพื นที่ลุ่มน ้า การอธิบายความหมายและการให้ค้า

                       จ้ากัดความของพื้นที่ลุ่มน้้า โดยค้ารณ (2554) ได้ให้จ้ากัดความ ของพื้นที่ลุ่มน้้า (Watershed  Area)
                       หมายถึง พื้นที่ซึ่งล้อมรอบด้วยสันปันน้้า (divide) เป็นพื้นที่รับน้้าฝนของแม่น้้าสายหลักในลุ่มน้้านั้นๆ
                       เมื่อฝนตกลงมาในพื้นที่ลุ่มน้้าจะไหลออกสู่ล้าธารสายย่อยๆ (suborder) แล้วรวมกันออกสู่ล้าธารสายใหญ่

                       (order) และรวมกันออกสู่แม่น้้าสายหลัก (mainstream) จะไหลออกปากน้้า (outlet) ในที่สุด
                                กรมชลประทาน (2558) ได้ให้ค้าจ้ากัดความของพื้นที่ลุ่มน้้า และลุ่มน้้า ดังต่อไปนี้
                       ลุ่มน้้า  หมายถึง พื้นที่รับน้้าตามธรรมชาติ จากฝนที่ตกลงในพื้นที่นั้นแล้วไหลลงสู่ที่ต่้า ไปรวมตัวกัน
                       เป็นล้าน้้าสายเล็ก และไหลรวมตัวกันลงสู่ล้าน้้าสายใหญ่ขึ้นไป จนในที่สุดไหลออกจาก พื้นที่ลุ่มน้้าที่

                       จุดหนึ่งของล้าน้้าขอบเขตพื้นที่ลุ่มน้้าก้าหนดได้ด้วยแนวเส้นสันปันน้้าที่เริ่มตรงจุดไหลออกของลุ่มน้้า
                       แล้วแผ่ครอบคลุมทั้งสอง ด้านของล้าน้้าไปจนถึงต้นน้้าล้าธาร ขนาดของพื้นที่ลุ่มน้้าจะใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ
                       เมื่อเลื่อนจุดไหลออกไปทางท้ายน้้า จนในที่สุดพื้นที่ลุ่มน้้าจะใหญ่ที่สุดที่จุดไหลออกสู่ทะเล ขนาดของ
                       ล้าน้้าและลุ่มน้้าสามารถจัดล้าดับจากเล็กไปหาใหญ่ ซึ่งมีความสัมพันธ์โดยตรงกับลักษณะการไหลของน้้า

                                พื้นที่ลุ่มน้้า หมายถึง บริเวณพื้นที่ ซึ่งครอบคลุมล้าน้้าธรรมชาติตอนใดตอนหนึ่ง เหนือจุด
                       ที่ได้ก้าหนดในล้าน้้านั้นๆ ท้าหน้าที่เป็นแหล่งรวมน้้า ทั้งที่ไหลมาบนผิวดินและที่ซึมออกจากดิน
                       ให้ระบายลงสู่ล้าน้้า และไหลไปยังจุดที่ก้าหนด พื้นที่ลุ่มน้้าจึงเปรียบเสมือนหลังคาบ้านที่รองรับน้้าฝน
                       และล้าเลียงน้้าลงสู่รางน้้า เพื่อให้น้้าไหลลงสู่ภาชนะเก็บกักน้้า ส้าหรับขอบเขตพื้นที่ลุ่มน้้าก้าหนดได้
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89