Page 79 - การวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและคุณภาพที่ดินสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับลุ่มน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาลำเชิงไกร
P. 79

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       62







                                  23)  ที่ตั้ง (Location) : l
                                  24)  ความเสียหายจากการกัดกร่อน (Erosion hazard) : e
                                  25)  ความเสียหายจากการแตกท้าลาย (Degradation hazard) : d
                            3.4.5 การเลือกคุณภาพของที่ดินเพื่อใช้ในการประเมินความเหมาะสมของที่ดิน

                                เนื่องจากคุณภาพที่ดินมีทั้งหมด 25 ชนิด ประกอบด้วยคุณลักษณะที่ดินจ้านวนมากถ้า
                       จะน้าคุณภาพที่ดินทั้งหมดมาสู่ขบวนการประเมิน อาจท้าให้ผลที่ได้ไม่ตรงกับความจริง จึงมี
                       การก้าหนดเงื่อนไขในการคัดเลือกคุณภาพที่ดินว่าจะต้องมีครบอย่างน้อย 3 ประการดังนี้
                                  1) จะต้องมีผลต่อพืชหรือประเภทการใช้ที่ดินนั้นๆ มี 3 ระดับดังนี้

                                    (1) มาก (Large) : จะมีผลกระทบทันทีทันใด ตอบสนองโดยตรง
                                    (2) ปานกลาง (Moderate ) : จะมีผลกระทบมากพอสังเกตได้
                                    (3) น้อย (Slight or inapplicable) : มีผลกระทบน้อยมาก
                                  2) ค่าวิกฤตต้องพบในพื้นที่ที่จะปลูกพืชนั้นๆ มี 3 ระดับดังนี้

                                    (1) เกิดขึ้นบ่อยครั้ง (Frequent)  ระดับที่กระทบกระเทือนต่อผลผลิตจะเกิดขึ้น
                       5เปอร์เซ็นต์ หรือสูงกว่าของพื้นที่
                                    (2) เกิดขึ้นบ้าง (Infrequent)  ระดับที่กระทบกระเทือนต่อผลผลิตจะเกิดขึ้น

                       น้อยกว่า 5 เปอร์เซ็นต์
                                    (3) เกิดขึ้นน้อยมากหรือไม่เกิดขึ้นเลย (Rarely  or  never)  ระดับความรุนแรง
                       ดังกล่าวจะเกิดขึ้นน้อยมากจนสามารถมองข้ามไปได้
                                  3) การรวบรวมข้อมูลสามารถปฏิบัติได้ในแต่ละหัวข้อข้างต้นดังนี้
                                    สามารถรวบรวมข้อมูลได้ (Obtainable) จากเอกสารหรือรายงานที่มีอยู่แล้วหรือ

                       ท้าการส้ารวจใหม่
                            3.4.6 คุณภาพที่ดินที่น้ามาประเมิน
                                จากเงื่อนไขการคัดเลือกคุณภาพที่ดิน ดังกล่าวในข้อ 3.3.1 และการล้าดับความส้าคัญ

                       ของคุณภาพที่ดิน พบว่า คุณภาพที่ดินที่สมควรน้ามาใช้ประเมินส้าหรับประเทศไทยมี 11 ชนิด
                       จากบัณฑิต และค้ารณ (2542) ซึ่งในกรณีลุ่มน้้าล้าเชิงไกร จะพิจารณาคุณภาพที่ดิน ดังต่อไปนี้
                                  1) ความชุ่มชื้นที่เป็นประโยชน์ต่อพืช (Moisture availability)
                                    คุณลักษณะที่ดินเป็นตัวแทน ได้แก่ ระยะเวลาการท่วมขังของน้้าในฤดูฝน

                       ปริมาณน้้าฝนเฉลี่ยในรอบปีหรือความต้องการน้้าในช่วงการเจริญเติบโตของพืช นอกจากนี้ควร
                       พิจารณาถึงการกระจายของน้้าฝนในแต่ละพื้นที่ และลักษณะของเนื้อดิน ซึ่งมีผลทางอ้อมในเรื่อง
                       ความจุในการอุ้มน้้าที่เป็นประโยชน์ต่อพืช
                                  2) ความเป็นประโยชน์ของออกซิเจนต่อรากพืช (Oxygen availability)

                                    คุณลักษณะที่ดินที่เป็นตัวแทน ได้แก่ สภาพการระบายน้้าของดิน ทั้งนี้เพราะพืช
                       โดยทั่วๆ ไป รากพืชต้องการออกชิเจนในขบวนการหายใจ ดังนั้นเมื่อพิจารณาถึงปัจจัยของดินที่มี
                       สภาพการระบายน้้าดี จะมีการถ่ายเทอากาศระหว่างเหนือผิวดินกับภายในดินได้ดี ส่วนในดินที่มี
                       สภาพการระบายน้้าเลว การถ่ายเทอากาศเป็นไปได้น้อย ท้าให้ปริมาณก๊าชออกชิเจนในดินที่ถูกราก

                       พืชดูดไปมีปริมาณลดลงในขณะที่ก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์ในดินที่ได้จากขบวนการหายใจเพิ่มขึ้น ซึ่ง
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84