Page 35 - การวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและคุณภาพที่ดินสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับลุ่มน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาลำเชิงไกร
P. 35
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
24
- หน่วยที่ดินที่ 37, flM3 สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีการปั้น
คันนาเพื่อท้าการปลูกข้าว มีเนื้อที่ 1,872 ไร่ หรือร้อยละ 0.10 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
- หน่วยที่ดินที่ 37M3 สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีการปั้น
คันนาเพื่อท้าการปลูกข้าว มีเนื้อที่ 1,698 ไร่ หรือร้อยละ 0.09 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
- หน่วยที่ดินที่ 37B สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีเนื้อที่ 200 ไร่
หรือร้อยละ 0.01 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
- หน่วยที่ดินที่ 37B, fl สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีเนื้อที่
3,335 ไร่ หรือร้อยละ 0.18 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
- หน่วยที่ดินที่ 37B, flM3 สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีการปั้น
คันนาเพื่อท้าการปลูกข้าว มีเนื้อที่ 3,335 ไร่ หรือร้อยละ 0.18 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
5) กลุ่มดินที่มีวัตถุต้นก้าเนิดดินเป็นพวกตะกอนล้าน้้า ที่มีลักษณะการทับถม
เป็นชั้นๆ ของตะกอนล้าน้้าในแต่ละช่วงเวลา พบบนสันดินริมน้้า หรือที่ราบตะกอนน้้าพา บริเวณพื้นที่
ดอนที่มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ เป็นดินลึก มีการระบายน้้าดีถึงดีปานกลาง
เนื้อดินเป็นพวกดินร่วนหรือดินร่วนปนทรายละเอียด สีดินเป็นสีน้้าตาลอ่อน อาจพบจุดประสีเทาและ
สีน้้าตาลในชั้นดินล่างอาจมีแร่ไมก้าหรือก้อนปูนปะปนอยู่ด้วย ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติ
ปานกลาง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกลาง มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 5.5-7.0 ปัจจุบันบริเวณ
ดังกล่าว ใช้เป็นที่อยู่อาศัยปลูกผัก และสวนผลไม้ บางแห่งปลูกยาสูบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทาง
ภาคเหนือ ดินกลุ่มนี้ไม่มีปัญหาในการใช้ประโยชน์ ยกเว้นในช่วงฤดูฝนน้้าในล้าน้้าอาจเอ่อล้นฝั่ง
ท้าความเสียหายให้แก่พืชผลได้ แบ่งเป็นหน่วยที่ดินต่างๆ คือ
- หน่วยที่ดินที่ 38/38fsi เป็นหน่วยที่ดินรวม หรือ หน่วยที่ดินเชิงซ้อน
ประกอบด้วย หน่วยที่ดินที่ 38 และ หน่วยที่ดิน 38fsi สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ
มีเนื้อที่ 523 ไร่ หรือร้อยละ 0.03 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
- หน่วยที่ดินที่ 38/38fsiM3 เป็นหน่วยที่ดินรวม หรือ หน่วยที่ดินเชิงซ้อน
ประกอบด้วย หน่วยที่ดินที่ 38 และ หน่วยที่ดิน 38fsiM3 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้าง
ราบเรียบ มีการปั้นคันนาเพื่อท้าการปลูกข้าว มีเนื้อที่ 2,920 ไร่ หรือร้อยละ 0.16 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
6) กลุ่มดินที่เกิดจากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่ หรือถูกเคลื่อนย้ายมาในระยะทาง
ไม่ไกลนักของหินเนื้อหยาบ หรือจากวัตถุต้นก้าเนิดดินพวกตะกอนล้าน้้า หรือจากตะกอนล้าน้้า
พบบริเวณพื้นที่ดอน ที่มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงลูกคลื่นลอนลาด เป็นดินลึกที่มี
การระบายน้้าดี เนื้อดินเป็นพวกดินร่วนปนทราย มีสีน้้าตาล สีเหลืองหรือแดง ดินมีความอุดมสมบูรณ์
ตามธรรมชาติต่้า ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดจัดมาก มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 4.5-5.5
ปัญหาส้าคัญในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ เนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย พืชที่ปลูกมีโอกาสเสี่ยงต่อ
การขาดแคลนน้้าได้ง่าย ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่้าและมีปัญหาเกี่ยวกับการชะล้างพังทลายของหน้าดิน
โดยเฉพาะบริเวณที่มีความลาดชันสูงปัจจุบันบริเวณดังกล่าวใช้ปลูกพืชไร่ต่างๆ เช่น มันส้าปะหลัง
อ้อยโรงงาน ปอ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และถั่ว บางแห่งมีสภาพเป็นป่าละเมาะหรือทุ่งหญ้าธรรมชาติ แบ่งเป็น
หน่วยที่ดินต่างๆ คือ