Page 31 - การวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและคุณภาพที่ดินสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับลุ่มน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาลำเชิงไกร
P. 31

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       20








                                      -  หน่วยที่ดินที่  7BM2  สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีการ
                       ดัดแปลงพื้นที่โดยการยกร่องเพื่อปลูกพืช มีเนื้อที่ 133 ไร่ หรือร้อยละ 0.01 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                    3) กลุ่มชุดดินที่เป็นดินร่วนละเอียด เป็นกลุ่มดินที่เกิดจากวัตถุต้นก้าเนิดดิน
                       พวกตะกอนล้าน้้า และ/หรือการสลายตัวผุพังอยู่กับที่แล้วถูกเคลื่อนย้ายมาในระยะทางไม่ไกลนักของ

                       หินเนื้อหยาบ มีสภาพพื้นที่ที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีน้้าแช่ขังในช่วงฤดูฝน เป็นดินลึกที่มี
                       การระบายน้้าส่วนใหญ่ค่อนข้างเลว เนื้อดินบนเป็นพวกดินร่วนปนทรายหรือดินร่วน ดินล่างเป็น
                       ดินร่วนเหนียวปนทราย หรือดินร่วนเหนียว มีสีน้้าตาลอ่อนถึงสีเทา พบจุดประพวกสีน้้าตาล สีเหลือง
                       หรือสีแดงปะปน บางแห่งอาจพบศิลาแลงอ่อนหรือก้อนสารเคมีสะสมพวกเหล็กและแมงกานีสในดินชั้นล่าง

                       ดินมีความสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่้า ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง
                       4.5-5.5 ปัจจุบันบริเวณดังกล่าวส่วนใหญ่ใช้ท้านา หรือไม้ยืนต้น แต่มีปัญหาเรื่องการแช่ขังของน้้าในฤดูฝน
                       แบ่งเป็นหน่วยที่ดินต่างๆ คือ
                                      -  หน่วยที่ดินที่ 17 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่ 848 ไร่

                       หรือร้อยละ 0.05 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                      -  หน่วยที่ดินที่  17M2 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีการ
                       ดัดแปลงพื้นที่โดยการยกร่องเพื่อปลูกพืช มีเนื้อที่ 97 ไร่ หรือร้อยละ 0.01 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                      -  หน่วยที่ดินที่17M4 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีการดัดแปลง
                       พื้นที่โดยการท้าคันหลังเต่าเพื่อปลูกพืชไร่ มีเนื้อที่ 726 ไร่ หรือร้อยละ 0.04 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                    4) กลุ่มชุดดินที่เป็นดินร่วนละเอียดสีเทา ที่เกิดจากวัตถุต้นก้าเนิดดินพวกตะกอน
                       ล้าน้้า หรือจากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่หรือเคลื่อนย้ายมาทับถมจากวัสดุเนื้อหยาบ พบในบริเวณที่ราบ
                       ลุ่มมีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีน้้าแช่ขังในช่วงฤดูฝน เป็นดินลึก อาจพบลูกรังของเหล็ก

                       และแมงกานีสหรือชั้นดินเหนียวในดินชั้นล่าง การระบายน้้าค่อนข้างเลวถึงเลว ความอุดมสมบูรณ์
                       ตามธรรมชาติต่้า บางพื้นที่พบในพื้นที่ลุ่มต่้ามีน้้าไหลบ่าท่วมขังสูงในฤดูฝน บางแห่งพบในพื้นที่
                       ค่อนข้างดอน ท้าให้เสี่ยงต่อการขาดแคลนน้้าการใช้ประโยชน์ที่ดินในปัจจุบันใช้ท้านา แบ่งเป็นหน่วยที่ดิน

                       ต่างๆ คือ
                                      -  หน่วยที่ดินที่ 18 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่ 2,547 ไร่
                       หรือร้อยละ 0.14 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                      -  หน่วยที่ดินที่ 18csub สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่

                       4,216 ไร่ หรือร้อยละ 0.23 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                      -  หน่วยที่ดินที่  18csubM4 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ
                       มีการดัดแปลงพื้นที่โดยการท้าคันหลังเต่าเพื่อปลูกพืชไร่ มีเนื้อที่ 541 ไร่ หรือร้อยละ 0.03 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                    5) กลุ่มดินที่เกิดจากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่ หรือถูกเคลื่อนย้ายมาใน

                       ระยะทางไม่ไกลนักของหินเนื้อหยาบ หรือจากวัตถุต้นก้าเนิดดินพวกตะกอนล้าน้้า มีสภาพพื้นที่
                       ที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีน้้าแช่ขังในช่วงฤดูฝน เป็นดินลึกที่มีการระบายน้้าส่วนใหญ่
                       ค่อนข้างเลวถึงดีปานกลาง เนื้อดินบนเป็นพวกดินร่วนปนทรายหรือดินทราย ส่วนดินล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนทราย
                       หรือดินร่วนปนดินเหนียว มีสีน้้าตาลอ่อนถึงสีเทา พบจุดประพวกสีน้้าตาล สีเหลือง หรือสีแดงปะปน

                       หรือก้อนสารเคมีสะสมพวกเหล็กและแมงกานีสในดินชั้นล่าง  ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่้า
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36