Page 33 - การวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและคุณภาพที่ดินสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับลุ่มน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาลำเชิงไกร
P. 33
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
22
2.6.2 ดินในพื้นที่ดอน ประกอบด้วยหน่วยที่ดินต่างๆ ดังนี้
1) กลุ่มชุดดินที่เกิดจากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่ หรือถูกเคลื่อนย้ายมาใน
ระยะทางไม่ไกลนักของหินเนื้อละเอียด หรือจากวัตถุต้นก้าเนิดดินพวกตะกอนล้าน้้า ในบริเวณ
พื้นที่ดอน สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย เป็นดินลึกที่มี
การระบายน้้าดีถึงดีปานกลาง เนื้อดินเป็นดินเหนียว สีดินเป็นสีน้้าตาล สีเหลืองหรือสีแดง ดินมี
ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติค่อนข้างปานกลาง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกลางมีค่าความเป็น
กรดเป็นด่าง 5.5-7.0 ปัญหาส้าคัญในการใช้ประโยชน์ที่ดินของหน่วยแผนที่นี้ ได้แก่ บริเวณที่มี
ความลาดชันจะมีปัญหาเกี่ยวกับการชะล้างพังทลายของหน้าดินปัจจุบันบริเวณดังกล่าวใช้ปลูกพืชไร่
ไม้ผลต่างๆ มีส่วนน้อยที่ยังคงเป็นสภาพป่าธรรมชาติ แบ่งเป็นหน่วยที่ดินต่างๆ คือ
- หน่วยที่ดินที่ 31 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่
10,777 ไร่ หรือร้อยละ 0.58 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
- หน่วยที่ดินที่ 31M3 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีการปั้น
คันนาเพื่อท้าการปลูกข้าว มีเนื้อที่ 17,262 ไร่ หรือร้อยละ 0.93 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
- หน่วยที่ดินที่ 31B สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีเนื้อที่ 49,821 ไร่
หรือร้อยละ 2.70 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
- หน่วยที่ดินที่ 31BM3 สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีการปั้นคันนา
เพื่อท้าการปลูกข้าว มีเนื้อที่ 15,140 ไร่ หรือร้อยละ 0.93 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
2) กลุ่มชุดดินที่เกิดจากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่ หรือถูกเคลื่อนย้ายมาใน
ระยะทางไม่ไกลนักของหินเนื้อหยาบ หรือจากวัตถุต้นก้าเนิดดินพวกตะกอนล้าน้้า บริเวณพื้นที่ดอน
สภาพพื้นที่ลอนลาดเล็กน้อย เป็นดินลึกที่มีการระบายน้้าดี เนื้อดินบนเป็นพวกดินร่วนปนทราย
ส่วนดินล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนทราย มีสีน้้าตาล สีเหลืองหรือแดง ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่้า
ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดจัดมาก มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 4.5-5.5 ปัญหาส้าคัญในการใช้
ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ เนื้อดินค่อนข้างเป็นทรายและดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่้า ในบริเวณที่มีความลาดชันสูง
จะมีปัญหาเกี่ยวกับชะล้างพังทลายของหน้าดิน ปัจจุบันบริเวณดังกล่าวใช้ปลูกพืชไร่ต่างๆ เช่น
มันส้าปะหลัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เลี้ยงสัตว์ ข้าวฟ่าง อ้อยโรงงานโรงงาน ปอ งา และถั่ว บางแห่งใช้
ปลูกไม้ผล และไม้ยืนต้น แบ่งเป็นหน่วยที่ดินต่างๆ คือ
- หน่วยที่ดินที่ 35B สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีเนื้อที่ 2,433 ไร่
หรือร้อยละ 0.13 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
- หน่วยที่ดินที่ 35B/40B เป็นหน่วยที่ดินรวม หรือ หน่วยที่ดินเชิงซ้อน
ประกอบด้วย หน่วยที่ดินที่ 35B และ หน่วยที่ดิน 40B สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีเนื้อที่
46,950 ไร่ หรือร้อยละ 2.54 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
- หน่วยที่ดินที่ 35BM3/40B เป็นหน่วยที่ดินรวม หรือ หน่วยที่ดินเชิงซ้อน
ประกอบด้วย หน่วยที่ดินที่ 35BM3 และ หน่วยที่ดิน 40B สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย
มีการปั้นคันนาเพื่อท้าการปลูกข้าว มีเนื้อที่ 1,198 ไร่ หรือร้อยละ 0.06 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
3) กลุ่มดินที่เกิดจากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่ หรือถูกเคลื่อนย้ายมาในระยะทาง
ไม่ไกลนักของหินเนื้อหยาบ หรือจากวัตถุต้นก้าเนิดดินพวกตะกอนล้าน้้า บริเวณพื้นที่ดอน