Page 37 - การวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและคุณภาพที่ดินสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับลุ่มน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาลำเชิงไกร
P. 37

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       26








                                      -  หน่วยที่ดินที่  41C,  d3clayM3   สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาด มีการปั้น
                       คันนาเพื่อท้าการปลูกข้าว มีเนื้อที่ 1,014 ไร่ หรือร้อยละ 0.06 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                    8) กลุ่มดินที่เกิดจากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่ หรือถูกเคลื่อนย้ายมาในระยะทาง
                       ไม่ไกลนักของหินเนื้อหยาบ หรือจากวัตถุต้นก้าเนิดดินพวกตะกอนล้าน้้า บริเวณพื้นที่ดอน ที่มีสภาพ

                       พื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย เป็นดินลึก ที่มีการระบายน้้าดีมาก
                       เกินไป เนื้อดินเป็นพวกดินทราย สีเทาหรือ สีน้้าตาลอ่อน และในดินล่าง ที่ลึกมากกว่า 150  เซนติเมตร
                       อาจพบเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทรายหรือดินร่วนเหนียวปนทราย บางบริเวณอาจพบจุดประในดินชั้นล่าง
                       ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่้ามาก ปฏิกิริยาดินโดยมากจะเป็นกรดจัดถึงเป็นกลาง

                       มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 5.5-7.0  ปัญหาส้าคัญในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ เนื้อดินเป็นทรายจัด
                       พืชมีโอกาสขาดน้้าได้ง่าย ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่้าและโครงสร้างไม่ดี บริเวณที่มีความลาดชันสูง
                       จะมีปัญหาเกี่ยวกับการชะล้างพังทลายของหน้าดิน  ปัจจุบันบริเวณดังกล่าวใช้ปลูกพืชไร่ต่างๆ เช่น
                       มันส้าปะหลัง อ้อยโรงงาน สับปะรด ปอ ส่วนไม้ยืนต้น ได้แก่ มะพร้าว และมะม่วงหิมพานต์

                       บางแห่งเป็นป่าเต็งรังหรือทุ่งหญ้าธรรมชาติแบ่งเป็นหน่วยที่ดินต่างๆ คือ
                                      -  หน่วยที่ดินที่ 44 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่ 233 ไร่
                       หรือร้อยละ 0.01 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                      -  หน่วยที่ดินที่ 44M3 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีการปั้น
                       คันนาเพื่อท้าการปลูกข้าว มีเนื้อที่ 114 ไร่ หรือร้อยละ 0.01 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                      -  หน่วยที่ดินที่ 44B สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีเนื้อที่ 27,718 ไร่
                       หรือร้อยละ 1.50 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                      -  หน่วยที่ดินที่ 44BM3 สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีการปั้น

                       คันนาเพื่อท้าการปลูกข้าว มีเนื้อที่ 4,988 ไร่ หรือร้อยละ 0.27 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                    9) กลุ่มดินที่เกิดจากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่ หรือถูกเคลื่อนย้ายมาใน
                       ระยะทางไม่ไกลนักของวัตถุต้นก้าเนิดดินที่มาจากหินเนื้อค่อนข้างหยาบ พบบริเวณพื้นที่ดอน

                       มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดถึงลูกคลื่นลอนชัน เป็นดินตื้น มีการระบายน้้าดี เนื้อดินบนส่วนใหญ่
                       เป็นดินร่วนปนทราย ส่วนดินล่างเป็นดินปนเศษหินหรือปนกรวด ก้อนกรวดส่วนใหญ่เป็นหินกลมมน
                       หรือเศษหินต่างๆ ถ้าเป็นดินปนเศษหินมักพบชั้นพบหินพื้นตื้นกว่า 50 เซนติเมตร สีดินเป็นสีน้้าตาล
                       สีเหลืองหรือสีแดง ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่้า ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงกรดปานกลาง

                       มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 5.0-6.0 ปัญหาส้าคัญในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ เป็นดินตื้นมาก บริเวณ
                       ที่มีความลาดชันสูงเกิดการชะล้างพังทลายได้ง่าย นอกจากนี้ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่้าอีกด้วยปัจจุบัน
                       บริเวณดังกล่าว เป็นป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรังหรือป่าละเมาะ และทุ่งหญ้าธรรมชาติ บางแห่งใช้ปลูก
                       พืชไร่ ไม้โตเร็ว แบ่งเป็นหน่วยที่ดินต่างๆ คือ

                                      -  หน่วยที่ดินที่ 48C/56C เป็นหน่วยที่ดินรวม หรือ หน่วยที่ดินเชิงซ้อน
                       ประกอบด้วย หน่วยที่ดินที่ 48C และหน่วยที่ดิน 56C สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาด มีเนื้อที่ 1,060 ไร่
                       หรือร้อยละ 0.06 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42