Page 39 - การวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและคุณภาพที่ดินสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับลุ่มน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาลำเชิงไกร
P. 39

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       28








                                        - หน่วยที่ดินที่ 56B/RCM3 เป็นหน่วยที่ดินรวม หรือ หน่วยที่ดินเชิงซ้อน
                       ประกอบด้วย หน่วยที่ดินที่ 56B และ RCM3 สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีการปั้นคันนา
                       เพื่อท้าการปลูกข้าว มีเนื้อที่ 1,011 ไร่ หรือร้อยละ 0.05 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                        - หน่วยที่ดินที่ 56BM3 สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีการปั้น

                       คันนาเพื่อท้าการปลูกข้าว มีเนื้อที่ 3,415 ไร่ หรือร้อยละ 0.18 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                        -  หน่วยที่ดินที่ 56C สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาด มีเนื้อที่ 571 ไร่
                       หรือร้อยละ 0.03 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                    12)  กลุ่มดินนี้พบบริเวณสันดินริมน้้า บริเวณพื้นที่แนวตะกอน ที่มีสภาพพื้นที่

                       ค่อนข้างเรียบ จนถึงลูกคลื่นลอนลาด เกิดจากตะกอนล้าน้้าพัดพามาทับถมกัน มีการผสมกันของ
                       ตะกอนหลายชนิด ดินที่พบส่วนใหญ่มีการระบายน้้าดีถึงดีปานกลาง ส่วนใหญ่เป็นดินลึก เนื้อดินเป็น
                       พวกดินร่วน บางแห่งมีชั้นดินที่มีเนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย หรือมีชั้นกรวด ซึ่งแสดงถึงการตกตะกอน
                       ต่างยุคของดินอันเป็นผลมาจากการเกิดน้้าท่วมใหญ่ในอดีต ดินกลุ่มนี้โดยทั่วไปมีความอุดมสมบูรณ์

                       ปานกลาง และปฏิกิริยาเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 6.0-7.0 ปัจจุบันดินนี้
                       มีการใช้ประโยชน์ค่อนข้างกว้างขวาง นิยมใช้ปลูกพืชไร่ ไม้ผล และไม้ยืนต้นต่างๆเนื่องจากหน่วยแผนที่นี้
                       เป็นหน่วยผสมของดินหลายชนิด ดังนั้น ในแผนที่ดินระดับจังหวัด จึงเรียกว่าเป็นพวกดินตะกอนล้าน้้า

                       ที่มีการระบายน้้าดี แบ่งเป็นหน่วยที่ดินต่างๆ คือ
                                        - หน่วยที่ดินที่ 60 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่
                       12,865 ไร่ หรือร้อยละ 0.70 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                        - หน่วยที่ดินที่ 60M3 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีการปั้น
                       คันนาเพื่อท้าการปลูกข้าว มีเนื้อที่ 6,889 ไร่ หรือร้อยละ 0.37 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                2.6.3 หน่วยพื้นที่อื่นๆ มีดังนี้
                                    1) พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง(U) มีเนื้อที่ 95,1 9 3  ไร่ หรือร้อยละ 5.15 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                    2) พื้นที่น้้า(W) มีเนื้อที่ 42,824 ไร่ หรือร้อยละ 2.32 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                    3) พื้นที่เบ็ดเตล็ด ประกอบด้วยพื้นที่ผาชัน(ES)  พื้นที่ลุ่มชื้นแฉะ (MARCH)  มีเนื้อที่
                       6,541 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.35 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44