Page 36 - การวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและคุณภาพที่ดินสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับลุ่มน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาลำเชิงไกร
P. 36

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       25








                                      -  หน่วยที่ดินที่ 40B สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีเนื้อที่
                       162,308 ไร่ หรือร้อยละ 8.78 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                      -  หน่วยที่ดินที่ 40BM3 สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีการปั้นคันนา
                       เพื่อท้าการปลูกข้าว มีเนื้อที่ 30,106 ไร่ หรือร้อยละ 1.63 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                      -  หน่วยที่ดินที่ 40C/RC เป็นหน่วยที่ดินรวม หรือ หน่วยที่ดินเชิงซ้อน
                       ประกอบด้วย หน่วยที่ดินที่ 40C และ RC สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาด มีเนื้อที่ 3,648 ไร่ หรือร้อยละ
                       0.20 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                      -  หน่วยที่ดินที่ 40C/RCM3 เป็นหน่วยที่ดินรวม หรือ หน่วยที่ดินเชิงซ้อน

                       ประกอบด้วย หน่วยที่ดินที่  40C และ RC สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาด มีการปั้นคันนาเพื่อ
                       ท้าการปลูกข้าว มีเนื้อที่ 986 ไร่ หรือร้อยละ 0.05 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                    7) กลุ่มดินที่เกิดจากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่ หรือถูกเคลื่อนย้ายมาในระยะทาง
                       ไม่ไกลนักของหินเนื้อหยาบ หรือจากวัตถุต้นก้าเนิดดินพวกตะกอนล้าน้้า ทับอยู่บนชั้นดินที่เกิดจาก

                       การสลายตัวผุพังของหินพื้น หรือดินที่เกิดจากวัตถุต้นก้าเนิดต่างชนิดต่างยุค ในบริเวณพื้นที่ดอน
                       ที่มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงลูกคลื่นลอนลาด เป็นดินลึกที่มีการระบายน้้าดีถึงดีปาน
                       กลาง เนื้อดินช่วง 50 เซนติเมตร ตอนบนเป็นดินทรายหรือดินทรายปนดินร่วน ส่วนชั้นดินถัดลงไป

                       เป็นดินร่วนเหนียวปนทราย ดินร่วนเหนียว หรือดินเหนียว สีดินเป็นสีน้้าตาลอ่อน หรือสีเหลือง
                       ปนสีน้้าตาล บางอาจพบจุดประในดินชั้นล่าง ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่้า ปฏิกิริยาดิน
                       เป็นกรดจัดถึงเป็นกรดจัดมาก มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 4.5-5.5  ส่วนในดินล่าง ปฏิกิริยาดินเป็น
                       กรดปานกลางถึงเป็นกลาง มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 6.0-7.0 ปัญหาส้าคัญในการใช้ประโยชน์ที่ดิน
                       ได้แก่ เนื้อดินค่อนข้างเป็นทรายจัด พืชที่ปลูกมีโอกาสเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้้าได้ง่าย แต่ถ้ามีฝนตก

                       มากดินชั้นบนจะแฉะ ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่้ามาก บริเวณที่มีความลาดชันสูงจะเกิดการชะล้าง
                       พังทลายได้ง่าย  ปัจจุบันบริเวณดังกล่าวใช้ปลูกพืชไร่ต่างๆ เช่น มันส้าปะหลัง อ้อยโรงงาน ปอ
                       ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ฝ้าย ถั่ว และยาสูบ บางแห่งเป็นป่าเต็งรัง แบ่งเป็นหน่วยที่ดินต่างๆ คือ

                                      -  หน่วยที่ดินที่ 41B สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีเนื้อที่ 37,937 ไร่
                       หรือร้อยละ 2.05 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                      -  หน่วยที่ดินที่  41B,d3clay  สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย
                       มีเนื้อที่ 6,115 ไร่ หรือร้อยละ 0.33 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                      -  หน่วยที่ดินที่ 41B, d3clayM3 สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย
                       มีการปั้นคันนาเพื่อท้าการปลูกข้าว มีเนื้อที่ 418 ไร่ หรือร้อยละ 0.02 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                      -  หน่วยที่ดินที่ 41B/41BM3 เป็นหน่วยที่ดินรวม หรือ หน่วยที่ดินเชิงซ้อน
                       ประกอบด้วย หน่วยที่ดินที่  41B  และหน่วยที่ดิน 41BM3  สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย

                       มีการปั้นคันนาเพื่อท้าการปลูกข้าว มีเนื้อที่ 312 ไร่ หรือร้อยละ 0.02 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                      -  หน่วยที่ดินที่ 41BM3 สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีการปั้นคันนา
                       เพื่อท้าการปลูกข้าว มีเนื้อที่ 4,846 ไร่ หรือร้อยละ 0.26 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                      -  หน่วยที่ดินที่ 41C,d3clay สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาด มีเนื้อที่ 72,527 ไร่

                       หรือร้อยละ 3.92 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41