Page 32 - การวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและคุณภาพที่ดินสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับลุ่มน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาลำเชิงไกร
P. 32
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
21
ดินชั้นบนโดยมากจะมีปฏิกิริยาเป็นกรดจัดถึงกรดปานกลาง มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 5.5-6.0 ส่วนดิน
ชั้นล่างมักมีปฏิกิริยาเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง หรือมีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 6.0-7.0 แต่ถ้ามี
ก้อนปูนปะปน จะมีปฏิกิริยาเป็นกลางถึงด่างปานกลาง มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 7.0-8.5 ตามปกติ
ดินกลุ่มนี้จะมีเกลือโซเดียมมาก และในฤดูแล้งจะมีคราบเกลือเกิดขึ้นทั่วไปบนผิวดิน ปัญหาส้าคัญใน
การใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ ความเค็มของดิน ซึ่งส่วนใหญ่จะมีปริมาณธาตุโซเดียมสูงจนเป็นพิษต่อพืช
เนื้อดินค่อนข้างเป็นทรายและมีโครงสร้างไม่ดี ปัจจุบันบริเวณดังกล่าวใช้ท้านา บริเวณที่เค็มจัดจะปรากฏ
คราบเกลือบนผิวดิน ใช้ประโยชน์ทางการเกษตรไม่ได้ มีป่าละเมาะและไม้พุ่มหนามขึ้นกระจัดกระจาย
เป็นหย่อมๆ บางแห่งเป็นแหล่งท้าเกลือสินเธาว์ แบ่งเป็นหน่วยที่ดินต่างๆ คือ
- หน่วยที่ดินที่ 20 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่
143,465 ไร่ หรือร้อยละ 7.76 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
- หน่วยที่ดินที่ 20/20f เป็นหน่วยที่ดินรวม หรือ หน่วยที่ดินเชิงซ้อน
ประกอบด้วย หน่วยที่ดินที่ 20 และ หน่วยที่ดิน 20f สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่
47,456 ไร่ หรือร้อยละ 2.57 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
- หน่วยที่ดินที่ 20f สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่
198,292 ไร่ หรือร้อยละ 10.73 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
- หน่วยที่ดินที่ 20,ssub สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่
274 ไร่ หรือร้อยละ 0.01 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
- หน่วยที่ดินที่ 20hi สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่
42,520 ไร่ หรือร้อยละ 2.30 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
6) กลุ่มดินที่เป็นดินร่วนหยาบลึกมากสีเทาที่เกิดจากวัตถุต้นก้าเนิดดิน
พวกตะกอนล้าน้้า หรือเคลื่อนย้ายมาทับถมของวัสดุเนื้อหยาบ มีข้อจ้ากัดบางประการเนื่องจาก
มีน้้าแช่ขังในช่วงฤดูฝน การระบายน้้าค่อนข้างเลว และความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่้า
แบ่งเป็นหน่วยที่ดินต่างๆ คือ
- หน่วยที่ดินที่ 22 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่
19,230 ไร่ หรือร้อยละ 1.04 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
- หน่วยที่ดินที่ 22I สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีระบบ
ชลประทาน มีเนื้อที่ 3,638 ไร่ หรือร้อยละ 0.20 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
- หน่วยที่ดินที่ 22M2 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีการ
ดัดแปลงพื้นที่โดยการยกร่องเพื่อปลูกพืช มีเนื้อที่ 237 ไร่ หรือร้อยละ 0.01 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
- หน่วยที่ดินที่ 22M4 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบมีการ
ดัดแปลงพื้นที่โดยการท้าคันหลังเต่าเพื่อปลูกพืชไร่ มีเนื้อที่ 5,943 ไร่ หรือร้อยละ 0.32 ของพื้นที่
ลุ่มน้้าสาขา
- หน่วยที่ดินที่ 22sa สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่
557 ไร่ หรือร้อยละ 0.03 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา