Page 30 - การวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและคุณภาพที่ดินสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับลุ่มน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาลำเชิงไกร
P. 30

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       19








                       2.6  ทรัพยากรดิน
                              จากการส้ารวจดิน (กองส้ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2558) ในระดับค่อนข้างละเอียดที่
                       ระดับมาตราส่วน 1: 25,000 สามารถน้าข้อมูลมาวิเคราะห์ และจัดท้าหน่วยที่ดินโดยเกิดจากการน้ากลุ่มชุดดิน

                       มาซ้อนทับกับสภาพการใช้ที่ดิน แล้วจัดการท้าหน่วยที่ดินใหม่ คือ กลุ่มชุดดินที่เป็นดินลุ่มมีการยกร่องปลูกพืชไร่
                       จะจัดท้าหน่วยที่ดินใหม่เป็น (M4) กลุ่มชุดดินที่เป็นดินลุ่ม มีการน้ามายกร่องสูงปลูกไม้ยืนต้น
                       จะให้หน่วยที่ดินเป็น (M2) กลุ่มชุดดินที่เป็นดินดอนมีการน้ามาปั้นคันนาเพื่อปลูกข้าว จะจัดท้าหน่วยที่ดินเป็น(M3)
                       โดยแยกเป็นหน่วยที่ดินเดี่ยวและหน่วยเบ็ดเตล็ด ได้แก่ ที่ลุ่มชื้นแฉะ (MARSH) ผาชัน (ES) พื้นที่ชุมชนและ

                       สิ่งปลูกสร้าง (U) และพื้นที่น้้า (W) เป็นต้น จากหน่วยที่ดินดังกล่าวข้างต้น ได้อธิบายรายละเอียดของหน่วยที่ดิน
                       โดยแบ่งเป็นดินในพื้นที่ลุ่ม ดินในพื้นที่ดอน และหน่วยเบ็ดเตล็ด ดังตารางที่ 4 โดยมีรายละเอียดต่างๆ ดังนี้
                                2.6.1 ดินในพื้นที่ลุ่ม ประกอบด้วยหน่วยที่ดินต่างๆ ดังนี้
                                    1) กลุ่มชุดดินที่เป็นดินเหนียวหรือกลุ่มดินเหนียวจัดดินสีเทาที่เกิดจากวัตถุต้น

                       ก้าเนิดดินพวกตะกอนล้าน้้า พบในบริเวณที่ราบตะกอนน้้าพา ที่ราบลุ่มหรือราบเรียบมีสภาพพื้นที่
                       ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีน้้าแช่ขังในช่วงฤดูฝน เป็นดินลึกมีการระบายน้้าเลวหรือค่อนข้างเลว
                       ความอุดมสมบูรณ์ ตามธรรมชาติปานกลาง บางพื้นที่พบในพื้นที่ลุ่มต่้า มีน้้าไหลบ่าท่วมขังสูงในฤดูฝน

                       การใช้ประโยชน์ที่ดินในปัจจุบันส่วนใหญ่ใช้ท้านาในฤดูแล้งพื้นที่ที่มีระบบชลประทานสามารถปลูก
                       พืชผัก หรือไม้ผล แบ่งเป็นหน่วยที่ดินต่างๆ คือ
                                      -  หน่วยที่ดินที่ 4 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่
                       4,148 ไร่ หรือร้อยละ 0.22 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                      -  หน่วยที่ดินที่  4/38  เป็นหน่วยที่ดินรวม หรือ หน่วยที่ดินเชิงซ้อน

                       ประกอบด้วย หน่วยที่ดินที่  4 และ หน่วยที่ดิน 38 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่
                       387 ไร่ หรือร้อยละ 0.02 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                    2) กลุ่มชุดดินที่เป็นดินเหนียว ดินลึกมากที่เกิดจากวัตถุต้นก้าเนิดดินพวกตะกอน

                       ล้าน้้า หรือเกิดจากการสลายตัวของหินพุพังอยู่กับที่ พบตามพื้นที่ราบลุ่มมีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือ
                       ค่อนข้างราบเรียบ มีน้้าแช่ขังในช่วงฤดูฝน การระบายน้้าดีปานกลางถึงค่อนข้างเลว ความอุดมสมบูรณ์
                       ตามธรรมชาติต่้าถึงปานกลาง ในพื้นที่ดอน ท้าให้เสี่ยงต่อการขาดแคลนน้้า การใช้ประโยชน์ที่ดินใน
                       ปัจจุบันใช้ท้านา แบ่งเป็นหน่วยที่ดินต่างๆ คือ

                                      -  หน่วยที่ดินที่ 7 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่ 103 ไร่
                       หรือร้อยละ 0.01 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                      -  หน่วยที่ดินที่  7hi  สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่
                       64,687 ไร่ หรือร้อยละ 3.50 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                      -  หน่วยที่ดินที่  7hi,sa  สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่
                       8,842 ไร่ หรือร้อยละ 0.48 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                      -  หน่วยที่ดินที่  7hiM2  สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีการ
                       ดัดแปลงพื้นที่โดยการยกร่องเพื่อปลูกพืช มีเนื้อที่ 382 ไร่ หรือร้อยละ 0.02 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                      -  หน่วยที่ดินที่ 7B สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีเนื้อที่ 11,300 ไร่
                       หรือร้อยละ 0.61 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35