Page 33 - แผนบริหารจัดการทรัพยากรดินปัญหาของประเทศไทยระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561 - 2580)
P. 33

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
           12                แผนบริหารจัดการทรัพยากรดินปัญหาของประเทศไทย  12                                                                                                              13
                             ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580)




                               - ที่ดินทุรกันดาร (BL: badland) หมายถึง ที่ดินว่างเปล่าที่มีความสูงชันปานกลางถึง                                                                         บทที่ 2
                    สูงชันมาก ที่เกิดจากการกัดเซาะของทางน้ าเล็กมากมาย และทางน้ าเหล่านี้จะแห้งในฤดูแล้ง โดยปกติ                                                        การทบทวนสถานการณ์ทรัพยากรดิน

                    จะไม่มีก้อนหิน
                               - หาด (B: beaches) หมายถึง ชายฝั่งทะเลที่เป็นทราย กรวด หรือหินมนเล็ก ซึ่งถูก                                                 และทิศทางการบริหารจัดการทรัพยากรดินของประเทศไทย
                    คลื่นซัดซ้ า พื้นที่บางส่วนอาจจมอยู่ใต้น้ าระหว่างที่น้ าทะเลขึ้นหรือมีพายุ
                               - ที่ดินเต็มไปด้วยกองหิน (D: dumps) หมายถึง พื้นที่บริเวณเหมืองแร่ ซึ่งอาจจะมี                                     2.1 สถานการณ์ทรัพยากรดินของประเทศไทย

                    ลักษณะราบเรียบหรือไม่สม่ าเสมอและมีกองเศษหิน กากแร่ และหลุมบ่อ จากการท าเหมือง มักจะ                                              2.1.1 สถานการณ์ทรัพยากรดิน
                    พบปะปนกับบ่อขุด (pit) บางครั้งอาจให้หน่วยแผนที่ดินเป็น dumps-pits complex                                                             การจัดท าข้อมูลแผนที่ทรัพยากรดินในระยะแรก ได้ใช้ระบบการจ าแนกดินแบบ “ระบบ
                               - สันทราย (DL: dune land) ประกอบด้วยสันทรายและร่องที่เกิดจากการพัดพาของลม                                          ประจ าชาติ” ซึ่งเป็นการจ าแนกโดยยึดลักษณะและสัณฐานของดิน (soil morphology) เป็นหลัก
                               - ที่ดินร่องลึก (GL: gullied land) เป็นพื้นที่ที่ถูกกร่อนเป็นร่องขนาดใหญ่และลึก                                    โดยเริ่มน ามาใช้ในประเทศไทย ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2495 แบ่งการจ าแนกดินออกเป็น 20 กลุ่มดิน (great

                               - ที่ดินเต็มไปด้วยน้ ามัน (OL: oil-waste land) เป็นบริเวณที่เต็มไปด้วยของเสียที่เป็น                               soil group) ได้แก่ Alluvial soils, Hydromorphic Alluvial soils, Regosols, Lithosols, Grumusols,
                    น้ ามัน ได้แก่ บริเวณที่เป็นที่ทิ้งน้ ามันเครื่องที่ใช้แล้ว                                                                   Rendzinas, Brown Forest soils, Humic Gley soils, Low Humic Gley soils, Ground Water
                               - บ่อ (P: pits) หมายถึง บ่อเปิดที่เกิดจากการขุดเอาวัสดุดินไป และหลงเหลือแต่หิน                                     Podzols, Solodized-Solonetz, Solonchak, Non Calcic Brown soils, Gray Podzolic soils,

                    หรือวัสดุอื่นๆ ได้แก่ หลุมจากการท าเหมือง (pits, mine) บ่อกรวด (pits, gravel)                                                 Red Yellow Podzolic soils, Reddish Brown Lateritic soils, Red Brown Earth, Red Yellow
                               - ที่ดินหินพื้นโผล่ (RC: rock outcrop) เป็นบริเวณที่เต็มไปด้วยหินพื้นโผล่                                          Latosols, Reddish Brown Latosols และ Organic soils ซึ่งในแต่ละกลุ่มดินมีการแจกแจง
                    จะครอบคลุมเนื้อที่มากกว่าร้อยละ 90 ในขอบเขตนั้นๆ และควรระบุชนิดของหินด้วย                                                     คุณสมบัติและความอุดมสมบูรณ์ของดินที่พบในแต่ละภาค แต่ยังไม่มีการรายงานถึงปริมาณพื้นที่ที่พบ
                               - ที่ดินเต็มไปด้วยก้อนหิน (RL: rubble land) เป็นบริเวณที่เต็มไปด้วยหินมนเล็ก                                               กรมพัฒนาที่ดินได้น าเสนอข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพทรัพยากรดินของประเทศไทยครั้งแรก
                    ก้อนหิน และหินมนใหญ่ โดยปกติจะพบบริเวณเชิงเขา                                                                                 ซึ่งได้จากการสังเคราะห์ข้อมูลแผนที่และรายงานการส ารวจดิน จากข้อมูลแผนที่ดินระดับค่อนข้าง

                               - ที่ดินเหมืองแร่ร้าง (AML: abandoned mine land) เป็นบริเวณเหมืองแร่เก่า ซึ่งเต็ม                                  หยาบ (detailed-reconnaissance survey) มาตราส่วน 1:100,000 รายจังหวัด มีหน่วยแผนที่ในระดับ
                    ไปด้วยกองหิน กรวด ทราย                                                                                                        ชุดดิน (soil series) และได้ผลิตเป็นแผนที่ General soils map of Thailand ขนาดมาตราส่วน
                               - ที่ดินดัดแปลง (ML: man-made land) เป็นที่ดินที่ถูกดัดแปลงโดยการกระท าของ                                         1:1,000,000 ในปี พ.ศ. 2522 และขนาดมาตราส่วน 1:500,000 ผลิตในปี พ.ศ. 2525 ซึ่งแยก

                    มนุษย์จนลักษณะตามธรรมชาติของดินเดิมหมดไป และไม่อาจจ าแนกตามระบบได้ มักจะใช้ในกรณีที่                                          ออกเป็น 5 ภาค ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต้
                    มีการขุด หรือถมพื้นที่เพื่อการก่อสร้างต่างๆ เช่น สร้างอาคาร ถนน หรือเส้นทางต่างๆ                                              มีหน่วยแผนที่ตามระบบอนุกรมวิธานดิน (Soil taxonomy) โดยใช้หน่วยแผนที่ในระดับกลุ่มดิน
                               - ที่ลุ่มชื้นแฉะ (M: marsh) บริเวณพื้นที่ลุ่มต่ า การระบายน้ าเลว มีน้ าท่วมขังเป็น                                (great group) และใช้ชั้นอนุภาคดิน (particle size class) ขยายหน่วยแผนที่ออกเป็นประเภท
                    ครั้งคราว โดยธรรมชาติมีหญ้า กก อ้อ และพืชต่างๆ ขึ้นปกคลุม เมื่อมีการระบายน้ าออกจะใช้ปลูกพืชได้                               (phase) ตามชั้นอนุภาคดินของกลุ่มดิน รวม 90 หน่วยแผนที่ ซึ่งสามารถให้ประโยชน์ในการ

                               - ที่ลุ่มน้ าขัง (S: swamp) บริเวณพื้นที่ลุ่มต่ ามีน้ าขังตลอดเวลา แม้ในฤดูแล้งระดับน้ ายัง                        แปลความหมาย เพื่อใช้วางแผนทางการเกษตรในระดับประเทศและระดับภาค และถือเป็นข้อมูล
                    อยู่เหนือผิวดิน พืชพรรณธรรมชาติที่ขึ้นปกคลุมส่วนใหญ่เป็นพวกกก และมีไม้เนื้อแข็งบ้าง                                           เชิงพื้นที่แผนที่แรกของประเทศไทย
                               - ที่อยู่อาศัย (U: urban) เป็นบริเวณที่อยู่อาศัย หมู่บ้านรวมถึงอาคารและส านักงาน                                           ฐานข้อมูลชุดนี้ ได้น าไปจัดท ารายงานเรื่อง “ดินที่มีปัญหาต่อการใช้ประโยชน์ทางด้าน
                                                                                                                                                  เกษตรกรรมของประเทศไทย” ในรายงานประจ าปี 2535 ของกรมพัฒนาที่ดิน เพื่อให้ตระหนักถึง

                                                                                                                                                  สถานการณ์ทรัพยากรดิน เนื่องจากดินที่ใช้ทางการเกษตรในปัจจุบันและที่ยังคงสภาพเป็นป่าอยู่เป็น
                                                                                                                                                  ดินที่เป็นปัญหาต่อการใช้ประโยชน์ทางด้านเกษตร ได้แก่ ดินเปรี้ยวจัด ดินเค็ม ดินทรายจัด
                                                                                                                                                  ดินอินทรีย์ ดินตื้นที่มีกรวดลูกรังปน และดินที่พบบนพื้นที่ภูเขา เนื้อที่รวม 182 ล้านไร่ (กรมพัฒนาที่ดิน,

                                                                                                                                                  2535)
                                                                                                                                                          การปรับปรุงข้อมูลทรัพยากรดินได้ด าเนินการมาอย่างต่อเนื่อง โดยเครื่องมือและอุปกรณ์
                                                                                                                                                  รวมถึงเทคโนโลยีทางด้านการส ารวจดินมีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ท าให้การจัดท าข้อมูล
                                                                                                                                                  แผนที่ดินมีความทันสมัยและถูกต้องมากขึ้น ระหว่างปี พ.ศ. 2533-2534 ได้มีการส ารวจจ าแนกและ

                                                                                                                                                  ท าแผนที่ดิน ภายใต้โครงการการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจ มีการใช้ภาพถ่าย
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38