Page 35 - แผนบริหารจัดการทรัพยากรดินปัญหาของประเทศไทยระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561 - 2580)
P. 35
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
14 แผนบริหารจัดการทรัพยากรดินปัญหาของประเทศไทย
ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580)
14 15
ดาวเทียมมาช่วยในการแปลความหมายข้อมูลแผนที่และปรับปรุงฐานข้อมูลดินให้เป็นปัจจุบัน ดังนั้น งานส ารวจดินจึงได้ใช้แผนที่ภาพถ่ายออร์โธสีเป็นเครื่องมือในการปรับปรุงฐานข้อมูล
ในระดับมาตราส่วน 1:50,000 โดยมีหน่วยแผนที่เป็นกลุ่มชุดดิน (62 กลุ่ม) ทรัพยากรดินอีกครั้งหนึ่ง ทั้งนี้ ในระยะเริ่มแรกได้จัดท าข้อมูลแผนที่ดินประกอบรายงานส ารวจดิน
ในปี พ.ศ. 2539 ได้จัดท าแผนที่ดินในรูปดิจิตอล ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อการเกษตรระดับจังหวัด มาตราส่วน 1:25,000 มีหน่วยแผนที่เป็นกลุ่มชุดดิน (62 กลุ่ม)
(Geographic Information System: GIS) และโปรแกรมการเรียกใช้ประโยชน์ข้อมูลกลุ่มชุดดิน ด าเนินการแล้วเสร็จในทุกจังหวัด และในปีงบประมาณ 2554 ได้เริ่มโครงการ “การปรับฐานข้อมูล
และความเหมาะสมของดินส าหรับพืชเศรษฐกิจ หรือโปรแกรม SoilView ฐานข้อมูลนี้ได้ถูกน าไปใช้ ทรัพยากรดินเบื้องต้นลงบนภาพถ่ายออร์โธสี” โดยจัดท าฐานข้อมูลทรัพยากรดินในระดับชุดดิน
ประโยชน์อย่างแพร่หลาย รวมทั้งพัฒนาระบบเรียกใช้เพื่อการจัดการทรัพยากรที่ดิน และระบบ มาตราส่วน 1:25,000 ซึ่งเป็นหน่วยการจ าแนกที่มีความเหมาะสมในการถ่ายทอดองค์ความรู้ทาง
สนับสนุนการพัฒนาการเกษตรอื่นๆ อีก เช่น โปรแกรม AgZone, LandPlan, ConsPlan, ปฐพีวิทยาได้อย่างมีประสิทธิภาพที่สุด ซึ่งผลจากการด าเนินงานในครั้งนี้ได้น ามาใช้เป็นฐานข้อมูล
LandSuit, SoilMan ฐานข้อมูลดินส าหรับการจัดท า Zoning การวางแผนการใช้ที่ดิน โปรแกรม ส าหรับปรับปรุงข้อมูลสถานภาพทรัพยากรดิน และจัดท าแผนบริหารจัดการทรัพยากรดินของประเทศไทย
การเรียกใช้ประโยชน์ข้อมูลกลุ่มชุดดิน และโปรแกรมดินไทยธาตุอาหารพืช เป็นต้น ในการจัดท าแผนบริหารจัดการทรัพยากรดินปัญหาของประเทศไทยในครั้งนี้ ได้ใช้
ปี พ.ศ. 2544 ได้ผลิตแผนที่ศักยภาพของดินส าหรับการเกษตร โดยจัดพิมพ์แผนที่ในทุก ฐานข้อมูลที่ได้จากการส ารวจดินในช่วงปี พ.ศ. 2547-2554 ซึ่งได้จัดหมวดหมู่ลักษณะและสมบัติดินที่มี
ระดับ ทั้งระดับประเทศ ภาค และจังหวัด พร้อมทั้งน าเสนอรายงาน เรื่อง “ศักยภาพของดินส าหรับ ศักยภาพคล้ายคลึงกันในด้านที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตของพืชที่ปลูกได้ 62 กลุ่มชุดดิน
การเกษตรในประเทศไทย” ประกอบด้วย 1) ดินที่มีศักยภาพต่ าส าหรับการเกษตร 2) ดินที่มีศักยภาพ โดยแบ่งตามสภาพพื้นที่ที่พบได้เป็น 4 กลุ่มใหญ่ ดังนี้
ปานกลางถึงสูงส าหรับการเกษตร และ 3) พื้นที่อื่นๆ 1) ดินบริเวณพื้นที่ราบ ราบลุ่มหรือพื้นที่น้ าขัง (Lowland soils with Aquic condition)
1) ดินที่มีศักยภาพต่ าส าหรับการเกษตร หมายถึง ดินมีศักยภาพต่ าในการให้ผลผลิตของพืช หมายถึง ดินที่พบในบริเวณที่ราบหรือที่ราบลุ่ม มีภูมิสัณฐานแบบที่ราบตะกอนน้ าพา
มักจะเป็นดินที่มีปัญหา ซึ่งหมายถึง ดินมีสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างที่ไม่เหมาะสมหรือไม่ ลานตะพักล าน้ า ที่ราบระหว่างเนินเขา หุบเขา รวมถึงพื้นที่ชะวากทะเล ซึ่งในช่วงฤดูฝนมีน้ าแช่ขังแฉะ
ค่อยเหมาะสมส าหรับปลูกพืช การน ามาใช้ปลูกพืชเศรษฐกิจ จ าเป็นต้องมีการจัดการดินเป็นกรณี หรือมีระดับน้ าใต้ดินอยู่ใกล้ผิวดินเป็นเวลานาน สภาพการระบายน้ าของดินมีการระบายน้ า
พิเศษกว่าดินทั่วไป จึงจะสามารถใช้ประโยชน์ในการเพาะปลูกและให้ผลผลิตดีเท่าที่ควร ซึ่งท าให้มี ค่อนข้างเลว เลว ไปจนถึงเลวมาก ดินมีจุดประสีตลอดหน้าตัดดิน สีพื้นเป็นสีเทาหรือเทาอ่อน
การลงทุนสูงขึ้นและมักให้ผลผลิตไม่คุ้มค่ากับการลงทุน ดินที่มีปัญหาต่อการใช้ประโยชน์ทางด้าน ที่แสดงถึงการมีน้ าแช่ขังในหน้าตัดดิน ค่าปฏิกิริยาดินมีตั้งแต่เป็นกรดจัดมากไปจนถึงเป็นด่างปานกลาง
เกษตรกรรมของประเทศไทย จ าแนกได้ 7 ชนิด คือ (1) ดินอินทรีย์ (2) ดินเค็ม (3) ดินเปรี้ยวจัด มีความอุดมสมบูรณ์ในระดับต่ าถึงสูง ซึ่งขึ้นกับกระบวนการทางดินและชนิดของวัตถุต้นก าเนิดดิน
(4) ดินค่อนข้างเป็นทราย (5) ดินทรายจัด (6) ดินตื้น และ (7) ดินบนพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน ประกอบด้วยกลุ่มชุดดินที่ 1-25 และกลุ่มชุดดินที่ 57-59
2) ดินที่มีศักยภาพปานกลางถึงสูงส าหรับการเกษตร หมายถึง ดินมีศักยภาพในการ 2) ดินบริเวณพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้ง (Upland soils with Ustic moisture regime)
ให้ผลผลิตอยู่ในระดับปานกลางถึงสูง โดยทั่วไปดินมีความเหมาะสมส าหรับปลูกพืชโดยไม่จ าเป็นต้องมี หมายถึง ดินที่พบในบริเวณพื้นที่ดอน ดินจะแห้งติดต่อกันเกินกว่า 60 วัน หรือถ้าไม่
การจัดการดินเป็นกรณีพิเศษ หรือถ้ามีการจัดการดินให้ดีขึ้นก็จะได้ผลผลิตสูงขึ้นคุ้มต่อการลงทุน ติดต่อกัน ดินจะแห้งเกินกว่า 90 วัน ในรอบปี การเพาะปลูกพืชจะท าได้เฉพาะในช่วงฤดูฝน เป็นการ
ดินที่มีศักยภาพปานกลางถึงสูงส าหรับการเกษตรของประเทศไทย จ าแนกได้ 2 ชนิด คือ ท าการเกษตรแบบอาศัยน้ าฝน (rainfed agriculture) เขตดินแห้งในที่นี้ จึงหมายถึงดินในพื้นที่ส่วนใหญ่
(1) ดินเหนียวจัดและแตกระแหง และ (2) ดินเหนียวและดินร่วน ของประเทศ ยกเว้นบริเวณพื้นที่ที่มีฝนตกชุกและการกระจายตัวดี เช่น ภาคตะวันออกและภาคใต้
3) พื้นที่อื่นๆ หมายถึง ดินที่มีคุณสมบัติเปลี่ยนแปลงไปจนไม่สามารถน ามาใช้ปลูกพืชได้ สภาพพื้นที่มีตั้งแต่ราบเรียบ ลูกคลื่น เนินเขา จนถึงภูเขา มี ภูมิสัณฐานแบบที่ราบตะกอนน้ าพา
หรือต้องใช้เวลานานในการปรับปรุงฟื้นฟูเพื่อให้สามารถน ามาใช้ปลูกพืชได้เหมือนเดิม จ าแนกออก ลานตะพักล าน้ า ที่ราบระหว่างเนิน เนินเขา วัตถุต้นก าเนิดดินมีหลายประเภท ทั้งจากตะกอนน้ า
เป็น 5 กลุ่ม คือ (1) สถานที่ราชการและพื้นที่ชุมชน (2) พื้นที่อื่นๆ ได้แก่ พื้นที่หินโผล่ ที่ดินร่องลึก และการผุพังสลายตัวอยู่กับที่หรือเคลื่อนย้ายมาในระยะทางไม่ไกลนัก จากหินชนิดต่างๆ มีระดับน้ าใต้ดิน
ที่ดินเหมืองแร่ ฯลฯ (3) ที่ลุ่มชื้นแฉะ (4) พื้นที่น้ า และ (5) พื้นที่นาเกลือและนากุ้ง อยู่ลึกกว่า 2 เมตร สภาพการระบายน้ าของดินมีการระบายน้ าดีปานกลาง ดี ไปจนถึงดีมากเกินไป
ปี พ.ศ. 2545 กรมพัฒนาที่ดินได้รับมอบหมายจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ให้เป็น ดินมีสีด า น้ าตาล เหลือง แดง ขาว และอาจพบจุดประสีเล็กน้อย ค่าปฏิกิริยาดินมีตั้งแต่เป็นกรดจัด
หน่วยงานรับผิดชอบในการควบคุม ก ากับ ดูแล การจัดท า การจัดเก็บ และการบริการแผนที่และ จนถึงเป็นด่างปานกลาง มีความอุดมสมบูรณ์ในระดับต่ าถึงสูง ซึ่งขึ้นกับกระบวนการทางดินและชนิด
ข้อมูลทางแผนที่ของโครงการแผนที่ภาพถ่ายออร์โธสี (ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลแบบจ าลองระดับความ ของวัตถุต้นก าเนิดดิน ประกอบด้วยกลุ่มชุดดินที่ 28 29 30 31 33 35 36 37 38 40 41 44 46 47
สูงเชิงเลข (DEM) เส้นชั้นความสูง (contour) ค่าพิกัดทั้งทางราบและทางดิ่งและภาพถ่ายทางอากาศ) 48 49 52 54 55 56 60 และ 61
ข้อมูลดังกล่าวเมื่อน ามาวิเคราะห์ร่วมกับเทคนิคการรับรู้ข้อมูลระยะไกล (remote sensing) 3) ดินบริเวณพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินชื้น (Upland soils with Udic moisture regime)
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ การใช้แบบจ าลอง 3 มิติ ภาพแสงเงาภูมิประเทศ (Hill shade) จะเป็น หมายถึง ดินที่พบในบริเวณพื้นที่ดอน ดินจะไม่แห้งยาวนานรวมแล้วไม่เกินกว่า 90 วัน
ประโยชน์อย่างยิ่งในกระบวนการส ารวจ จ าแนก และท าแผนที่ดิน ในรอบปี ส่วนใหญ่จึงเป็นบริเวณพื้นที่ภาคตะวันออกและภาคใต้ ที่มีฝนตกชุก มีการกระจายของฝนดี
สภาพพื้นที่มีตั้งแต่ราบเรียบ ลูกคลื่น เนินเขา จนถึงภูเขา มีภูมิสัณฐานแบบที่ราบตะกอนน้ าพา