Page 28 - แผนบริหารจัดการทรัพยากรดินปัญหาของประเทศไทยระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561 - 2580)
P. 28

6
                           1.6 นิยำมและค ำจ ำกัดควำม
                                  ดินตำมควำมหมำยทำงปฐพีวิทยำธรรมชำติ (Pedology) หมายถึง เทหวัตถุธรรมชาติ
                           ที่ปกคลุมผิวโลกอยู่บางๆ เกิดขึ้นจากผลของการแปรสภาพหรือผุพังของหินและแร่และอินทรียวัตถุ
                           ผสมคลุกเคล้ากัน เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการก าเนิดดิน การจ าแนก การตรวจลักษณะดิน โดยเน้นดิน
                           ในสภาพเทหวัตถุธรรมชาติมากกว่าการใช้ดินเพื่อการปลูกพืช (สถิระ และคณะ, 2558)
                                  ดินตำมควำมหมำยทำงปฐพีวิทยำสัมพันธ์ (Edaphology) หมายถึง เทหวัตถุที่เกิดขึ้นตาม
                           ธรรมชาติรวมกันขึ้นเป็นชั้น (profile) จากส่วนผสมของแร่ธาตุต่างๆ ที่สลายตัวเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อยกับ
                           อินทรียวัตถุที่เปื่อยผุพังอยู่รวมกันเป็นชั้นบางๆ ห่อหุ้มผิวโลก และเมื่อมีอากาศและน้ าเป็นปริมาณที่
                           เหมาะสมแล้วจะช่วยค้ าจุน พร้อมทั้งช่วยในการยังชีพและการเจริญเติบโตของพืช เป็นการศึกษาถึง
                           ความสัมพันธ์ระหว่างดินกับสิ่งมีชีวิต โดยเฉพาะพืช การใช้ที่ดินเพื่อการปลูกพืช รวมทั้งสมบัติของดิน
                           ที่มีผลต่อการให้ผลผลิตของพืช (สถิระ และคณะ, 2558)              ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                             แผนบริหารจัดการทรัพยากรดินปัญหาของประเทศไทย
                                  ภูมิสังคม หมายถึง สภาพทางกายภาพ ลักษณะของพื้นที่ วิถีชีวิต ค่านิยม ความหลากหลาย   7
                                                                                        ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580)
                           ของวัฒนธรรม ประเพณี ที่อยู่รอบท้องถิ่นที่อยู่อาศัยนั้นๆ ซึ่งมีความแตกต่างกันไปในแต่ละแห่ง
                           ตามภูมิประเทศ โดยการพัฒนาหนึ่งๆ ในท้องที่นั้นๆ จะต้องค านึงถึงเสมอ (กรมพัฒนาสังคมและ
                           สวัสดิการ, 2561)
                                  แผนที่ดิน (Soil Maps) เป็นแผนที่ที่แสดงถึงการแจกกระจาย (distribution) ทางภูมิศาสตร์
                           ของดินชนิดต่างๆ ซึ่งมีสมบัติที่เกี่ยวข้องกัน มีความสัมพันธ์กัน และเป็นลักษณะตามธรรมชาติของดิน
                           ที่พบในการส ารวจ ในแผนที่ดินประกอบด้วยขอบเขตชนิดต่างๆ ของดินและลักษณะภูมิประเทศที่
                           เด่นๆ พร้อมทั้งค าอธิบายสัญลักษณ์ (legends) เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าใจความหมายของสิ่งที่ปรากฏ

                           อยู่บนแผนที่ (สถิระ และคณะ, 2558)
                                                                    7
                                  หน่วยแผนที่ดิน (Soil Mapping Units) เป็นองค์ประกอบหนึ่งของแผนที่ดิน หมายถึงชนิด
                           หรือกลุ่มของดินที่เขียนขอบเขตแสดงไว้ในแผนที่ดินนั้นๆ หน่วยแผนที่ดินจะมีชื่อซึ่งอาจจะเป็นชื่อ
                           ทางการจ าแนกชนิดของดินตามระบบใดระบบหนึ่งหรืออาจจะเป็นชื่อที่ใช้เฉพาะทางการส ารวจที่
                                  กำรจ ำแนกสมรรถนะของที่ดิน เป็นการจ าแนกที่ดินออกเป็นชั้นๆ ตามความสามารถในการ
                           แสดงให้เห็นภาพพจน์ของสภาพธรรมชาติเชิงภูมิศาสตร์ของบริเวณนั้นๆ ที่มีความหมายเกี่ยวข้องกับ
                           ผลิตและข้อจ ากัดในการใช้ประโยชน์ รวมทั้งการตอบสนองต่อการจัดการดิน (soil management)
                           ดินพอที่จะน ามาแปลความหมายเพื่อใช้ประโยชน์ได้ ในหน่วยแผนที่ดินหนึ่งๆ อาจจะประกอบด้วยชุด
                           เน้นหนักในด้านพืชที่ดอน (upland crops) โดยเฉพาะพืชไร่ที่ดอนและประโยชน์ด้านอื่นๆ ได้มีการ
                           ดินหนึ่งชนิดหรือมากกว่าซึ่งถ้ามีลักษณะเด่นของดินเพียงชนิดเดียวเรียกว่า หน่วยดินเดี่ยว (soil
                           จ าแนกชั้นสมรรถนะที่ดิน (Land Capability Class) ออกเป็น 8 ชั้น (Classes) โดยเขียนสัญลักษณ์
                           consociation) หรือมีสมบัติดินที่เด่นหลายชนิดพอๆ กัน เรียกว่าหน่วยดินสัมพันธ์ (soil
                           แทนสมรรถนะที่ดินด้วยตัว U และใช้เลขโรมันแทนชั้นสมรรถนะที่ดิน มีตั้งแต่ U-I ถึง U-VIII ลักษณะ
                           association) หน่วยดินเชิงซ้อน (soil complex) หรือหน่วยดินศักย์เสมอ (undifferentiated
                           ของดินที่น ามาใช้วินิจฉัยสมรรถนะที่ดินจะเป็นลักษณะที่ถาวรหรือเปลี่ยนแปลงได้ยาก เช่น ความลาดชัน
                           group) (ส่วนมาตรฐานการส ารวจจ าแนกดินและที่ดิน, 2547)
                           ของภูมิประเทศ ความลึกของดิน แนวโน้มที่จะเกิดการชะล้างพังทลายของดินหรือหลักฐานในอดีต
                                  สมรรถนะของที่ดิน หมายถึง คุณลักษณะโดยธรรมชาติของที่ดินที่สามารถรองรับการใช้
                           เนื้อดิน โครงสร้าง ความสามารถในการอุ้มน้ าของดิน ความเค็ม สภาพกรดด่างของดิน การขาดน้ าใน
                           ประโยชน์ประเภทหนึ่งในระดับความเข้มข้นหนึ่งได้ การประเมินตามสมรรถนะที่ดินจะเน้นที่
                           ฤดูเพาะปลูก สภาพน้ าท่วม ความเปียกเกินพอของดิน การมีหินโผล่ที่ผิวหน้า ชนิดของแร่ดินเหนียว
                           สถานภาพและศักยภาพของที่ดินโดยเฉพาะคุณภาพดินเพื่อก าหนดว่าที่ดินนั้นสามารถรองรับการใช้
                           โดยชั้นที่ I เป็นที่ดินที่เหมาะสมต่อการเกษตรมากที่สุด มีข้อจ ากัดน้อยหรือไม่มีเลย ชั้นที่ II ถึงชั้นที่
                           ประโยชน์ประเภทใดได้บ้าง ที่ดินที่มีศักยภาพรองรับกิจกรรมการใช้ที่ดินได้หลายประเภทถือว่ามี
                           VIII จะมีข้อจ ากัดการใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น ดินในชั้นสมรรถนะ U-I ถึง U-IV เท่านั้นที่เหมาะสมต่อการ
                           สมรรถนะสูง ในขณะที่ที่ดินที่รองรับได้เพียงประเภทเดียวหรือน้อยประเภท เนื่องจากมีข้อจ ากัดและ
                           ปลูกพืชไร่หรือพืชที่ดอนได้ดี และให้ผลคุ้มค่าต่อการลงทุน ส่วนชั้น U-V ถึง U-VIII นั้น จะมีข้อจ ากัด
                           เงื่อนไขอยู่มาก ถือว่ามีสมรรถนะต่ า ดังนั้น ปัจจัยส าคัญที่ค านึงถึงในการก าหนดสมรรถนะของที่ดิน
                           เพิ่มขึ้นมากและเสี่ยงต่อการลงทุน ซึ่งสมควรใช้ประโยชน์ในด้านอื่นๆ มากกว่าในการปลูก พืชไร่หรือ
                           คือ คุณลักษณะของที่ดิน ความหลากหลายในศักยภาพการใช้ที่ดิน และเงื่อนไขของระบบนิเวศ (สถิระ
                           พืชที่ดอน (กองบริรักษ์ที่ดิน, 2506; สถิระ และคณะ, 2558)
                           และคณะ, 2558)
                                  กำรประเมินควำมเหมำะสมของดิน หมายถึง การประมาณศักยภาพหรือความเหมาะสม
                           ของดินบริเวณใดบริเวณหนึ่ง เพื่อน าไปใช้ประโยชน์ส าหรับกิจกรรมประเภทใดประเภทหนึ่งหรือชนิด

                           ใดชนิดหนึ่งให้เหมาะสม มีประสิทธิภาพ ได้รับผลตอบแทนคุ้มค่า และเป็นการรักษาศักยภาพการผลิต
                           ของที่ดินให้ใช้ประโยชน์ได้ยาวนาน การประเมินความเหมาะสมของดินสามารถท าได้หลายระบบ
                           ทั้งระบบการจ าแนกสมรรถนะที่ดิน (Land Capability Classification) ของกระทรวงเกษตร
                           สหรัฐอเมริกา (United States Department of Agriculture : USDA) หรือการจ าแนกความ

                           เหมาะสมของที่ดินส าหรับพืชเศรษฐกิจ (Land Suitability Classification for Economic Crops)
                           (สถิระ และคณะ, 2558)
                                  กำรจ ำแนกควำมเหมำะสมของที่ดินส ำหรับพืชเศรษฐกิจ เป็นการจัดหมวดหมู่ของที่ดินตาม
                           ความเหมาะสมของที่ดินเมื่อน าเอามาปลูกพืชเศรษฐกิจแต่ละชนิดหรือแต่ละกลุ่ม เป็นการน าเอา

                           ลักษณะถาวรหรือเป็นลักษณะที่ยากต่อการเปลี่ยนแปลงมาพิจารณา เพื่อแบ่งแยกออกเป็นหมวดหมู่
                           ตามข้อจ ากัดที่มีผลต่อการเจริญเติบโต โดยจ าแนกตามความรุนแรงของข้อจ ากัดหรืออัตราเสี่ยงต่อ
                           ความเสียหายถ้าน าเอามาใช้ในการปลูกพืชที่ระบุไว้ เป็นการจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดินเฉพาะ
                           ในช่วงฤดูฝน แบ่งประเภทการจ าแนกความเหมาะสมของที่ดินออกเป็น 5 ชั้น คือ I-เหมาะสมดีมาก

                           II-เหมาะสมอย่างดี III-เหมาะสมปานกลาง IV-ไม่ค่อยเหมาะสม และ V-ไม่เหมาะสม ส าหรับข้าว
                           (P-Paddy) พืชไร่ (N-Non-flooded annual crops) ไม้ผล (F-Fruit trees) และ 3 ชั้น คือ
                           I-เหมาะสม II-ไม่ค่อยเหมาะสม และ III-ไม่เหมาะสม ส าหรับพืชเฉพาะอย่าง ได้แก่ ยางพารา

                           (R-Pararubber) มะพร้าว (C-Coconut) ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ถาวร (L-Permanent pasture or
                           Rangeland Livestock Farming) (กองสารวจดิน, 2523; กองสารวจและจาแนกดิน, 2543; สถิระ
                           และคณะ, 2558)
                                  ควำมอุดมสมบูรณ์ของดิน (Soil Fertility) หมายถึง ความสามารถของดินในการให้ธาตุ
                           อาหารที่จ าเป็นเพื่อการเจริญเติบโตของพืช กล่าวคือเมื่อธาตุอาหารในดินที่อยู่ในรูปที่พืชสามารถ
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33