Page 31 - แผนบริหารจัดการทรัพยากรดินปัญหาของประเทศไทยระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561 - 2580)
P. 31
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
10 แผนบริหารจัดการทรัพยากรดินปัญหาของประเทศไทย 10 11
ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580)
เช่นเดียวกับพื้นที่ในหน่วยที่ 1-4 เมื่อหินดินดานและหินทรายที่มีเกลือเป็นองค์ประกอบสลายตัวและมี ดินดำน หรือชั้นดำน หมายถึง ชั้นดินที่อัดตัวแน่นทึบ หรือชั้นที่มีสารเชื่อมอนุภาคของดิน
การตัดไม้ท าลายป่า ท าให้สมดุลของน้ าเสียไปจะเกิด saline seep เกิดดินเค็มในบริเวณส่วนที่ต่ ากว่าได้ มาจับตัวกันแน่นทึบและแข็งเป็นแนวขนานกับหน้าดินที่ความลึกแตกต่างกันไป จนเป็นอุปสรรค
หน่วยที่ 6 บริเวณที่ไม่มีเกลือ เป็นพื้นที่ที่อยู่นอกเขตของชั้นหมวดหินมหาสารคาม ต่อการชอนไชของรากพืช การไหลซึมของน้ าและการถ่ายเทอากาศ ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโต
ไม่พบคราบเกลือเลย และน้ าใต้ดินเป็นน้ าจืด และการให้ผลผลิตของพืชที่ปลูก (กรมพัฒนาที่ดิน, 2558)
ทั้งนี้ สมศักดิ์ (2550) ได้ศึกษาคราบเกลือหรือขุยเกลือที่ปรากฏบนผิวดินในฤดูแล้ง เพื่อเป็น ดินปนเปื้อน หมายถึง การที่สารพิษในรูปต่างๆ ถูกผสมลงในดินธรรมชาติ การปนเปื้อนนี้
เกณฑ์ส าหรับจ าแนกระดับความรุนแรงของปัญหาดินเค็ม ตามเกณฑ์ที่ได้ปรับปรุงและก าหนดใหม่ อาจเกิดจากความตั้งใจหรือไม่ตั้งใจ หรือเกิดจากธรรมชาติ แต่ท าให้ดินเกิดความเสื่อมโทรม มีปัญหา
ดังนี้ ต่อการใช้ประโยชน์ทางการเกษตร หรือมีผลกระทบต่อความปลอดภัยของมนุษย์และสัตว์
1) บริเวณที่ได้รับผลกระทบจากเกลือมากที่สุด พบคราบเกลือที่ผิวดินมากกว่าร้อยละ 50 หรือต้องท าการปรับปรุงที่ดินนั้นให้คืนสู่สภาพเดิม (กองแผนงาน, 2559)
2) บริเวณที่ได้รับผลกระทบจากเกลือมาก พบคราบเกลือที่ผิวดินร้อยละ 10-50 ภำวะมลพิษของดิน (soil pollution) หมายถึง ภาวะการปนเปื้อนของดินด้วยสารมลพิษ
3) บริเวณที่ได้รับผลกระทบจากเกลือปานกลาง พบคราบเกลือที่ผิวดินร้อยละ 1-10 (soil pollutant) มากเกินขีดจ ากัดจนมีอันตรายต่อสุขภาพอนามัย ตลอดจนการเจริญเติบโตของ
4) บริเวณที่ได้รับผลกระทบจากเกลือน้อย พบคราบเกลือที่ผิวดินน้อยกว่าร้อยละ 1 มนุษย์ และสิ่งมีชีวิต ทั้งพืช และสัตว์ (ศุภมาศ, 2540; กรมพัฒนาที่ดิน, 2558)
และมีน้ าใต้ดินเค็ม ดินเหมืองแร่ร้ำง หมายถึง ดินที่เกิดขึ้นภายหลังจากผ่านการท าเหมืองแร่ไปแล้ว ลักษณะดิน
5) บริเวณที่ได้รับผลกระทบจากเกลือน้อย พบคราบเกลือที่ผิวดินน้อยกว่าร้อยละ 1 ส่วนใหญ่จะเป็นดินทราย เนื้อหยาบและไม่เกาะตัว ท าให้ดินมีความสามารถในการอุ้มน้ าและดูดซับ
และมีน้ าใต้ดินไม่เค็ม แร่ธาตุอาหารต่ ามาก ไม่มีแร่ธาตุอาหารและอินทรียวัตถุที่เป็นประโยชน์ต่อพืชเหลืออยู่ เนื่องจากถูก
6) บริเวณที่สูง ไม่พบคราบเกลือที่ผิวดิน แต่มีหินเกลือ และหินอมเกลือรองรับอยู่ ชะล้างไปหมดแล้วจากขบวนการท าเหมือง ท าให้เหลือแต่เม็ดทรายที่มีขนาดค่อนข้างหยาบถึงหยาบมาก
ข้างล่าง และบางพื้นที่อาจมีก้อนกรวดและเศษหินขนาดใหญ่กองอยู่บริเวณใกล้ตัวเหมือง (กรมพัฒนาที่ดิน,
7) บริเวณที่ไม่มีผลกระทบจากคราบเกลือ 2558)
ดินเปรี้ยวจัดหรือดินกรดก ำมะถัน หมายถึง ดินที่มีสารประกอบไพไรต์ (FeS 2) เป็น พื้นที่ผ่ำนกำรเลี้ยงกุ้ง หมายถึง พื้นที่ที่อยู่ห่างจากชายฝั่งทะเลซึ่งเป็นพื้นที่น้ าจืดและมีการ
องค์ประกอบ เมื่อผ่านกระบวนการออกซิเดชั่น จะท าให้เกิดกรดก ามะถัน (H2SO4) ในชั้นดิน และฤทธิ์ เลี้ยงกุ้งน้ ากร่อย โดยน าน้ าเค็มจากทะเลมาผสมกับน้ าจืด หรือใช้เกลือมาปรับสภาพน้ าในบ่อให้เป็น
ของความเป็นกรดรุนแรงมากจนส่งผลกระทบต่อการปลูกพืช ดินชนิดนี้มักพบจาโรไซต์ น้ าเค็ม เมื่อประสบปัญหาเรื่องโรคระบาดของกุ้ง ก็ไม่สามารถเพาะเลี้ยงในที่เดิมได้ จึงย้ายไปหาพื้นที่
[KFe3(SO4)2(OH)6] ลักษณะสีเหลืองฟางข้าวที่ชั้นใดชั้นหนึ่งในหน้าตัดดิน เกิดในบริเวณที่ราบลุ่ม เลี้ยงใหม่ที่ไม่ได้อยู่ชายฝั่งทะเล พื้นที่เดิมจึงถูกทิ้งให้กลายเป็นนากุ้งร้าง บางแห่งมีปัญหาทั้งดินเค็ม
ชายฝั่งทะเลที่มีหรือเคยมีน้ าทะเลหรือมีน้ ากร่อยท่วมถึงในอดีต (กรมพัฒนาที่ดิน, 2558) และ ดินเปรี้ยวจัด ท าให้ดินนั้นไม่สามารถปลูกพืชได้ (กรมพัฒนาที่ดิน, 2558)
ดินทรำย หมายถึง ดินที่มีเนื้อดินบนเป็นทรายหรือทรายปนดินร่วน เกิดเป็นชั้นหนามากกว่า ดินกรด หมายถึง ดินที่มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง หรือพีเอช (pH) ของดินต่ ากว่า 7.0
100 เซนติเมตรจากผิวดิน รวมถึงพื้นที่ที่มีชั้นทรายหนามากกว่า 50 เซนติเมตรจากผิวดิน ที่รองรับด้วย โดยระดับความเป็นกรดที่มีปัญหาต่อการเพาะปลูกพืช และความเสื่อมโทรมของสภาวะแวดล้อม
ชั้นดานดินเหนียว ดินร่วน หรือพบชั้นดานอินทรีย์ภายในความลึก 100 เซนติเมตร (กรมพัฒนาที่ดิน, ทางดินจะเกิดอย่างรุนแรง เมื่อค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดินต่ ากว่า 5.5 (กรมพัฒนาที่ดิน, 2558)
2558) พื้นที่ลำดชันเชิงซ้อนหรือพื้นที่ภูเขำลำดชันสูง หมายถึง พื้นที่ภูเขาสูง เทือกเขาที่มีความ
ดินตื้น หมายถึง ดินที่พบชั้นลูกรัง ชั้นกรวด ชั้นเศษหิน หรือเศษหินปะปนอยู่ในเนื้อดิน ลาดชันมากว่าร้อยละ 35 ขึ้นไป ปัจจุบันยังไม่มีการศึกษาดินและจ าแนกขอบเขตดินในพื้นที่ที่มี
ร้อยละ 35 หรือมากกว่าโดยปริมาตร หรือพบชั้นมาร์ล หรือชั้นหินพื้นอยู่ตื้นกว่า 50 เซนติเมตรจากผิวดิน ความลาดชันนี้ (พิชิต, 2557)
ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการชอนไชของรากพืช ท าให้พืชไม่สามารถเจริญเติบโตได้ดีและให้ผลผลิตต่ า พื้นที่น้ ำ หมายถึง บริเวณที่มีแต่น้ า จะรวมถึงพื้นที่หนอง บึง อ่างเก็บน้ า บ่อน้ า สระน้ า
(กรมพัฒนาที่ดิน, 2558) ชะวากทะเล บ่อขุดต่างๆ ที่เต็มไปด้วยน้ า ส าหรับแผนที่มาตราส่วนใหญ่ๆ อาจรวมพื้นที่ของแม่น้ า
ดินปัญหำที่เกิดจำกกำรใช้ประโยชน์ที่ดิน หมายถึง ดินที่เกิดจากการปฏิบัติ หรือการใช้ที่ดิน ล าห้วย และคลองไปด้วย ส าหรับขอบเขตของน้ าจะถือเอาระดับที่น้ าขึ้นถึงสูงสุดเป็นเกณฑ์
ที่ไม่เหมาะสมของมนุษย์ ได้แก่ การปลูกพืชโดยปราศจากการบ ารุงรักษาดิน การปลูกพืชชนิดเดียว (ส่วนมาตรฐานการส ารวจจ าแนกดินและที่ดิน, 2547)
ติดต่อกันเป็นเวลานาน การท าลายป่าเพื่อการเกษตร การเผาป่าหรือไร่นา การใช้สารเคมีทาง พื้นที่เบ็ดเตล็ด หมายถึง พื้นที่ที่แทบจะไม่มีดินและมีพืชพรรณขึ้นเพียงเล็กน้อยหรือไม่มี
การเกษตรจนเกิดผลตกค้างในดิน การใช้เครื่องจักรกลเกษตรขนาดใหญ่ ซึ่งเป็นตัวเร่งท าให้ดินเกิด พืชพรรณเลย อาจจะเนื่องมาจากดินถูกกร่อนอย่างรุนแรง สภาพดินไม่เหมาะสม หรือเป็นพื้นที่ที่มี
การเสื่อมโทรมของดิน เกิดการสะสมธาตุอาหาร สารเคมีชนิดต่างๆ จนเป็นพิษต่อพืช มีโครงสร้างของดิน กิจกรรมของมนุษย์ บางพื้นที่อาจน ามาใช้ปลูกพืชได้แต่ต้องมีการปรับปรุงแก้ไขอย่างมาก
อัดแน่นทึบ เป็นอุปสรรคต่อการเจริญเติบโตของพืช (กรมพัฒนาที่ดิน, 2558) ดินปัญหาที่เกิดจากการ (ส่วนมาตรฐานการส ารวจจ าแนกดินและที่ดิน, 2547) โดยพื้นที่เบ็ดเตล็ดที่อาจพบในประเทศไทย
กระท าของมนุษย์ เช่น ดินดาน ดินปนเปื้อน ดินเหมืองแร่ร้าง และดินในพื้นที่นากุ้งร้าง เป็นต้น มีดังนี้