Page 37 - การใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ในดินทรายชายทะเลเพื่อปลูกคะน้าในศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
P. 37

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        26







                                              1) กากเมล็ดถั่วเหลืองหรือปลาปุน 60 กิโลกรัม
                                              2) มูลสัตว์ 40 กิโลกรัม
                                              3) สารเร่งซุปเปอร์ พด.1 จ านวน 1 ซอง
                                              4) สารเร่งซุปเปอร์ พด.2 ที่ขยายเชื้อในกากน้ าตาล 26-30 ลิตร

                       โดยมีวิธีการขยายเชื้อสารเร่งซุปเปอร์  พด.2  ดังนี้  ท าการเจือจางกากน้ าตาลโดยน ากากน้ าตาล  5
                       กิโลกรัม ผสมกับน้ า 50 ลิตร คนให้เข้ากัน เมื่อผสมกันดีแล้วใส่สารเร่งซุปเปอร์ พด.2 จ านวน 1 ซอง
                       คนให้ เข้ากันอีกครั้งหนึ่งเป็นเวลา 10 นาที ปิดฝาถังตั้งไว้ในที่ร่มเป็นเวลา 3 วัน

                                           ในส่วนขั้นตอนการผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง สูตรไนโตรเจน นั้นมีความคล้ายกับการ
                       ท าปุ๋ยอินทรีย์ทั่วๆ ไป คือท าการผสมกากเมล็ดถั่วเหลืองหรือปลาปุนและมูลสัตว์ ตามส่วนผสมให้เข้า
                       กัน น าสารเร่งซุปเปอร์ พด.1 จ านวน 1 ซอง เทลงในสารเร่งซุปเปอร์ พด.2 ที่ขยายเชื้อแล้ว จ านวน
                       26-30  ลิตร คนให้เข้ากันใช้เวลาประมาณ 5-10  นาที น าไปรดลงบนกองวัสดุที่ผสมในไว้แล้ว
                       คลุกเคล้าให้ทั่วกองเพื่อให้ความชื้นสม่ าเสมอ ตั้งกองปุ๋ยเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้ามีความสูงประมาณ 30-50

                       เซนติเมตร แล้วใช้วัสดุคลุมกองให้มิดชิด เพื่อรักษาความชื้นในกองปุ๋ยในระหว่างการหมัก ท าการกลับ
                       กองปุ๋ยทุกๆ 5  วัน และควบคุมความชื้นให้อยู่ระหว่าง 50-60  เปอร์เซ็นต์  หมักกองปุ๋ยเป็นเวลา
                       10-15 วัน หรือจนกระทั่ง อุณหภูมิภายในกองปุ๋ยลดลงเท่ากับภายนอกกองปุ๋ยจึงน าไปใช้ได้

                                        การผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง สูตรฟอสฟอรัส  ผลิตจากหินฟอสเฟต ซึ่งมีปริมาณ
                       ฟอสฟอรัสสูงแต่ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปที่ไม่เป็นประโยชน์ต่อพืช หมักร่วมกับปุ๋ยหมัก และร าข้าวเพื่อ
                       ช่วยในการดูดซับความชื้นและปรับลักษณะเนื้อวัสดุหมักให้เหมาะสม และใช้สารเร่ง พด.9  ซึ่งเป็น
                       จุลินทรีย์ที่ละลายหินฟอสเฟตให้กลับมาอยู่ในรูปฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ต่อพืช โดยส่วนผสมที่ใช้

                       ในการผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง สูตรฟอสฟอรัส จ านวน 100 กิโลกรัม ประกอบด้วย
                                              1) หินฟอสเฟต 80 กิโลกรัม
                                              2) ร าข้าว 10 กิโลกรัม
                                              3) ปุ๋ยหมัก 10 กิโลกรัม

                                              4) สารเร่ง พด.9 จ านวน 1 ซอง
                                           โดยมีขั้นตอนการผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง  สูตรฟอสฟอรัส  ดังนี้ผสมหินฟอสเฟต
                       ร าข้าว และปุ๋ยหมัก ตามส่วนผสมให้เข้ากัน น าสารเร่ง พด.9 จ านวน 1 ซอง เทลงในน้ า 20 ลิตร คน
                       ให้เข้ากันประมาณ 5-10  นาที น าไปรดลงบนกองวัสดุ  คลุกเคล้าให้ทั่วกองเพื่อปรับความชื้นให้

                       สม่ าเสมอทั่วกอง ตั้งกองปุ๋ยเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า ให้มีความสูง ประมาณ 30-50 เซนติเมตร แล้วใช้วัสดุ
                       คลุมกองให้มิดชิด เพื่อรักษาความชื้น หมักกองปุ๋ยเป็นเวลา 4-5 วัน จึงน าไปใช้
                                        - ประโยชน์ของปุ๋ยอินทรีย์ อาจแบ่งออกได้เป็น 2  ลักษณะใหญ่ๆ คือ

                                                1) ช่วยปรับปรุงสมบัติต่าง ๆ ของดิน  ท าให้เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช
                       มีคุณสมบัติในการปรับปรุงสภาพหรือลักษณะของดินให้เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช เช่น ถ้า
                       ดินนั้นเป็นดินเนื้อละเอียดอัดตัวกันแน่น เช่น ดินเหนียว ก็จะช่วยท าให้ดินนั้นมีสภาพร่วนซุยมากขึ้น
                       ไม่อัดตัวกันแน่นทึบ ท าให้ดินมีสภาพการระบายน้ า ระบายอากาศดีขึ้น ช่วยให้ดินมีความสามารถใน
                       การอุ้มน้ า หรือดูดซับน้ าที่จะเป็นประโยชน์ต่อพืชไว้ได้มากขึ้น เพราะดินที่มีลักษณะร่วนซุย ระบายน้ า

                       ระบายอากาศได้ดีนั้น จะท าให้รากพืชเจริญเติบโตได้รวดเร็ว แข็งแรง แตกแขนงได้มาก มีระบบรากที่
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42