Page 33 - การใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ในดินทรายชายทะเลเพื่อปลูกคะน้าในศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
P. 33

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        22







                       รดน ้า หรือลากสายยางติดฝักบัวพ่นรด ส าหรับระยะปลูกที่เหมาะสม โดยหลังจากถอนแยกจัดระยะ
                       ครั้งสุดท้าย ควรให้มีระยะปลูกระหว่างต้นและระหว่างแถวประมาณ 20X20 เซนติเมตร
                                      7.4.4   วิธีการปลูก หลังจากเตรียมดินโดยย่อยหน้าดินให้ละเอียดแล้ว นิยมหว่าน
                       เมล็ดลงบนแปลงปลูกโดยตรงมากกว่าการย้ายกล้า หว่านเมล็ดให้กระจายทั่วทั้งผิวแปลง ให้เมล็ดห่าง

                       กันประมาณ 2-3 เซนติเมตร ใช้ดินผสมหรือปุ๋ยคอกที่สลายตัวดีแล้วหว่านกลบเมล็ดให้หนาประมาณ
                       0.6-1  เซนติเมตร เพื่อเก็บรักษาความชื้นให้เมล็ดและปูองกันเมล็ดถูกน ้ากระแทกกระจาย คลุมด้วย
                       ฟาง หรือหญ้าแห้งสะอาดบาง ๆ รดน้ าให้ทั่วถึงและสม ่าเสมอ ต้นกล้าจะงอกภายใน 7 วัน  หลังจาก

                       ผักคะน้างอกแล้วประมาณ 20 วัน หรือต้นสูงประมาณ 10 เซนติเมตร ให้เริ่มท าการถอนแยกครั้งแรก
                       โดยเลือกถอนต้นที่ไม่สมบูรณ์ออก ให้เหลือระยะห่างระหว่างต้นไว้ประมาณ 10  เซนติเมตร ซึ่งต้น
                       อ่อนของผักคะน้าในวัยนี้เมื่อเด็ดรากออกแล้วสามารถน าไปขายได้ และเมื่อผักคะน้ามีอายุได้ประมาณ
                       30 วัน จึงท าการถอนแยกครั้งที่ 2 โดยให้เหลือระยะห่างระหว่างต้น 20 เซนติเมตร และต้นผักคะน้า
                       ที่ถอนแยกออกมาในวัยนี้ตัดรากออก ส่งขายตลาดเป็นยอดผักได้เช่นกัน ซึ่งผู้บริโภคนิยมรับประทาน

                       เป็นยอดผัก เพราะอ่อน และอร่อย ในการถอนแยกผักคะน้าแต่ละครั้งควรท าการก าจัดวัชพืชไปในตัว
                       ด้วย โดยใช้แรงงานคนในการถอนและตัดรากน าไปขายซึ่งสามารถท าให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น สรุป
                       แล้วการปลูกผักคะน้าในแต่ละฤดูปลูกสามารถขายได้ 3 ครั้ง คือ เมื่อถอนแยกครั้งแรก ถอนแยกครั้งที่

                       2 และตอนตัดต้นขาย
                                          7.4.5   การปฏิบัติดูแลรักษา  การให้น้ าผักคะน้าเป็นพืชที่ต้องการน ้าอย่างเพียงพอ
                       และสม ่าเสมอ เพราะต้นผักคะน้ามีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ดังนั้นการปลูกผักคะน้าจึงต้องปลูก
                       ในแหล่งที่มีน ้าเพียงพอตลอดฤดูปลูก หากผักคะน้าขาดน ้าจะท าให้ชะงักการเจริญเติบโตและคุณภาพ

                       ไม่ดีเท่าที่ควร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระยะที่เมล็ดเริ่มงอกจะขาดน ้าไม่ได้ วิธีการให้น ้าผักคะน้า
                       โดยทั่วไปใช้บัวฝอยหรือใช้เครื่องฉีดฝอยฉีดให้ทั่วและชุ่ม ให้น ้าวันละ 2 ช่วงคือเช้าและเย็น  ส่วนการ
                       ใส่ปุ๋ยนั้นเนื่องจากผักคะน้าเป็นผักกินใบและล าต้นจึงควรใส่ปุ๋ยที่มีธาตุไนโตรเจนสูง สัดส่วนของธาตุ
                       อาหารในปุ๋ยที่ใช้คือ N : P : K เท่ากับ 2:1:1 เช่น ปุ๋ยสูตร 12-8-8 หรือ 20-11-11 ในอัตราประมาณ

                       100  กิโลกรัมต่อไร่ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความอุดมสมบูรณ์ของดินและปริมาณปุ๋ยคอกที่ใช้ โดยแบ่งใส่   2
                       ครั้ง ๆ ละเท่า ๆ กัน คือ ใส่หลังจากการถอนแยกครั้งแรก และหลังจากถอนแยกครั้งที่สอง อย่างไรก็
                       ตามหากสังเกตเห็นว่าผักที่ปลูก ไม่ค่อยเจริญเติบโตเท่าที่ควรอาจจะใส่ปุ๋ยบ ารุงเพิ่มเติม เช่น ปุ๋ยยูเรีย
                       ปุ๋ยแอมโมเนียมไนเตรท โดยให้ทางรากหรือละลายน ้าในอัตราประมาณ 3-4 ช้อนแกงต่อน ้า 1 ปีบ ฉีด

                       พ่นทางใบ (กรมวิชาการเกษตร, 2548)
                                     การดูแลรักษา เกษตรกรทั่วไปนิยมใส่ปุ๋ยคอกและปุ๋ยเคมีสูตร 16-16-16 ส าหรับเป็น
                       ปุ๋ยรองพื้นและใส่ปุ๋ยยูเรีย (46-0-0) เมื่อต้นกล้ามีอายุประมาณ 15 วันเพื่อเร่งการเจริญเติบโต  แต่

                       อย่างไรก็ตาม การใช้ปุ๋ยเคมีของเกษตรกรส่วนใหญ่ยังคงมีพฤติกรรมการใช้ในปริมาณมากเกินความ
                       ต้องการของพืช และใช้อย่างต่อเนื่องเพื่อเร่งการเจริญเติบโตให้เพียงพอต่อความต้องการของตลาดที่
                       เพิ่มมากขึ้น โดยนอกจากจะท าให้เกษตรกรมีต้นทุนในการผลิตที่ค่อนข้างสูงแล้ว ยังก่อให้เกิดความ
                       เสี่ยงต่อการสะสมของสารไนเตรทในผักคะน้าอีกด้วย โดยมีรายงานว่าผักคะน้าที่ปลูกโดยใช้ปุ๋ยเคมีมี
                       แนวโน้มของการสะสมไนเตรทมากกว่าผักที่ไม่ใช้ปุ๋ยเคมีหรือผักอินทรีย์ และพบว่าการใช้ปุ๋ยเคมีโดย

                       เฉพาะที่มีธาตุไนโตรเจนสูงและมีมากเกินความต้องการของพืช จะส่งผลให้คุณภาพของผลผลิต
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38