Page 40 - การใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ในดินทรายชายทะเลเพื่อปลูกคะน้าในศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
P. 40

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        29







                       ขณะที่ผลดังกล่าวมีค่าแปรผันตามระดับไนโตรเจนที่ให้เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส าคัญ ซึ่งการให้ปุ๋ยอินทรีย์
                       คุณภาพสูงทั้ง 2 ชนิด ที่ระดับ 2.5 และ 5 กรัมไนโตรเจน ท าให้ต้นผักคะน้ามีน้ าหนักสดต้น จ านวน
                       ใบ  และพื้นที่ใบมากกว่าสิ่งทดลองควบคุมที่ให้ปุ๋ยเคมีร่วมกับมูลโคที่ระดับ 1 กรัมไนโตรเจน ส าหรับ
                       ปริมาณคลอโรฟิลล์ในใบของต้นผักคะน้า พบว่ามีค่าเพิ่มขึ้นตามระดับไนโตรเจนที่เพิ่มขึ้นในสิ่งทดลอง

                       แต่ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยส าคัญระหว่างปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงทั้ง 2 ชนิด ซึ่งจากผลการ
                       ทดลองชี้ให้เห็นว่าการผลิตผักคะน้าตามแนวทางเกษตรอินทรีย์ การให้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงทั้ง 2
                       ชนิด ที่ระดับตั้งแต่ 2.5 กรัมไนโตรเจน สามารถใช้ทดแทนการใส่ปุ๋ยเคมีร่วมกับมูลโคที่ระดับ 1 กรัม

                       ไนโตรเจนได้ ( สัญญา และอรประภา,  2559)
                              ศึกษาประสิทธิภาพของปุ๋ยเคมีต่ออัตราการเจริญเติบโต และผลผลิตผักคะน้า พันธุ์บางบัว
                       ทอง 35 โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely  Randomized  Design,  CRD)
                       จ านวน 4 ซ้ า และ 5 ต ารับการทดลองได้แก่ต ารับที่ 1) ไม่ใส่ปุ๋ย (ควบคุม),  ต ารับที่ 2) 46-0-0 +
                       27-6-6, ต ารับที่ 3) 46-0-0 + 25-10-10, ต ารับที่ 4) 46-0-0 + 16-12-8 และ ต ารับที่ 5) 46-0-0 +

                       12-12-17 โดยเตรียมแปลงปลูก 3 ตารางเมตร หว่านเมล็ด 5 กรัมต่อแปลง แบ่งใส่ปุ๋ย 3 ครั้ง ที่อายุ
                       15,  30 และ 45 วันหลังปลูก โดยที่อายุ 15 และ 45 วันหลังปลูก ใส่ปุ๋ยแต่ละต ารับทดลองในอัตรา
                       20 กิโลกรัมต่อไร่ และที่อายุ  30 วันหลังปลูก ใส่ปุ๋ยแต่ละต ารับทดลองในอัตรา 40 กิโลกรัมต่อไร่

                       โดยศึกษาอัตราการเจริญเติบโต ที่อายุผักคะน้า25,  35 และ55 วันหลังปลูก และเก็บเกี่ยวผลผลิตที่
                       55 วันหลังปลูก เพื่อศึกษาปริมาณผลผลิตรวม ค่าประสิทธิภาพการผลิตพืช และปริมาณเส้นใย
                       ผลการทดลองพบว่าการใส่ปุ๋ยเคมีที่มีปริมาณไนโตรเจนสูงในต ารับที่ 2,  3 และ 4 มีอัตราการ
                       เจริญเติบโต  และผลผลิตสูงกว่าการใช้ปุ๋ยที่มีไนโตรเจนต่ าในต ารับที่ 5 อย่างไรก็ตามแหล่งปุ๋ยที่มี

                       แอมโมเนียมร่วมกับยูเรียในต ารับที่ 2, 3 และ 4 มีอัตราการเจริญเติบโต และผลผลิต สูงกว่าแหล่งของ
                       แอมโมเนียมร่วมกับไนเทรตในต ารับที่ 5 ขณะที่ปริมาณเส้นใยในต ารับควบคุมมีปริมาณเส้นใย
                       มากกว่าต ารับทดลองที่มีการให้ปุ๋ยไนโตรเจน การใส่ปุ๋ยเคมีในต ารับที่ 2 ให้ปริมาณผลผลิตรวมและค่า
                       ประสิทธิภาพการผลิตพืชสูงที่สุด (วรรณิศา และพรไพรินทร์, 2557)

                              ศึกษาผลของการใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการเจริญเติบโต ผลผลิต และ
                       เปอร์เซ็นต์แปูงของมันส าปะหลังพันธุ์เกษตรศาสตร์ 50 พบว่าการใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 อัตรา 50
                       กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมีสูตร 15-7-18 อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ มีผลท าให้การเจริญเติบโตของมัน
                       ส าปะหลังพันธุ์เกษตรศาสตร์ 50 มากที่สุด และให้เปอร์เซ็นต์แปูงมากที่สุด (75.20 เปอร์เซ็นต์ โดย

                       น้ าหนักแห้ง) แต่ให้ ผลผลิตน้ าหนักหัวสด (4,016.0 กิโลกรัมต่อไร่) ไม่แตกต่างไปจากการใส่ปุ๋ย
                       อินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา 200 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมี สูตร 15-15-15 อัตรา 25 กิโลกรัม
                       ต่อไร่ และปุ๋ยเคมีสูตร 15-7-18 อัตรา 25 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งวิธีดังกล่าวมีแนวโน้มท าให้ผลผลิตมาก

                       ที่สุด (4,309.4 กิโลกรัมต่อไร่) และไม่แตกต่างไปจากการใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา 400 กิโลกรัม
                       ต่อไร่ (3,776.1 กิโลกรัมต่อไร่) และการไม่ใสปุ๋ย (3,018.7 กิโลกรัมต่อไร่) ซึ่งมีแนวโน้มให้ผลผลิต
                       ต่ าสุดและให้เปอร์เซ็นต์แปูงน้อยที่สุด (กฤตภาส และคณะ, 2560)
                               ศึกษาผลของการใช้ปุ๋ยสูตรที่ดีต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืชผักบางชนิด เป็นการน า
                       วัสดุอินทรีย์เหลือใช้ที่สามารถพบหาได้ง่ายในบริเวณหมู่บ้านได้แก่  ปุ๋ยหมักจากขยะมูลฝอย ปุ๋ยคอก

                       จากมูลโค และมูลจิ้งหรีด มาใช้ในการทดลองกับพืชผัก ได้แก่ ผักบุ้งจีน ผักคะน้าและผักชี พบว่า การ
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45