Page 39 - การใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ในดินทรายชายทะเลเพื่อปลูกคะน้าในศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
P. 39

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        28







                       Smyrna ตามล าดับ ส าหรับปริมาณการสะสมธาตุโซเดียม (Na) พบว่าหญ้าSeabrook มีปริมาณการ
                       สะสมธาตุโซเดียมมากกว่าหญ้า Georgia หญ้า Dixie และหญ้า Smyrna ตามล าดับ  ส าหรับผลของ
                       ชนิดหญ้าทนเค็มต่อการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดินหลังการทดลอง พบว่า  โดยทั่วไปปริมาณ
                       อินทรียวัตถุในดินมีค่าเพิ่มขึ้น เช่นเดียวกับปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ และปริมาณ

                       โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ที่มีค่าเพิ่มขึ้น ในขณะที่ค่าการน าไฟฟูาของดินลดลง ไพรัช และคณะ
                       (2556)
                              การศึกษาผลของการใช้วัสดุอินทรีย์และระบบการไม่ไถพรวนต่อการเปลี่ยนแปลงความเค็ม

                       ของดินเค็มก่อนใส่วัสดุอินทรีย์ หลังใส่วัสดุอินทรีย์ 60 วันและหลังใส่วัสดุอินทรีย์ 150 วัน ปริมาณ
                       อินทรียวัตถุ และการสะสมของปริมาณวัสดุอินทรีย์หลังเก็บเกี่ยวข้าว ในแปลงนาของเกษตรกร
                       จังหวัดอุดรธานี พบว่าการใช้วัสดุอินทรีย์ร่วมกับระบบการไม่ไถพรวนท าให้ความเค็มของดินลดลง
                       ปริมาณอินทรียวัตถุในดินมีค่าเพิ่มขึ้น 45–46 เปอร์เซ็นต์ และมีวัสดุอินทรีย์สะสมในดินเพิ่มขึ้นดังนั้น
                       การใส่วัสดุอินทรีย์ร่วมกับการไม่ไถพรวนท าให้ดินเค็มมีสมบัติดีขึ้นเหมาะสมต่อการปลูกข้าว

                              การเติมวัสดุอินทรีย์นอกจากสามารถช่วยลดความเค็มของดินได้แล้วยังเป็นการเพิ่มความ
                       อุดมสมบรูณ์ให้กับดินด้วยสอดคล้องกับรายงานของ Oorts  et  al.  (2007)  ซึ่งพบว่าการใช้วัสดุ
                       อินทรีย์ปริมาณมาก และติดต่อกันเป็นระยะยาวท าให้มีการสะสมอินทรียวัตถุในดินเพิ่มมากขึ้น

                       สามารถปรับปรุงบ ารุงความสมบรูณ์ของดินได้
                              ศึกษาการผลิตผักอินทรีย์เปรียบเทียบกับการใส่ปุ๋ยรูปแบบต่างๆในระบบการปลูกพืช
                       หมุนเวียน โดยวางแผนการทดลองแบบสุมสมบูรณ์ในบล็อก มี 4 ต ารับการทดลองได้แก่ ต ารับการ
                       ทดลองที่ 1 ใส่ปุ๋ยหมักจากมูลโคนมอัตรา 4,000 กิโลกรัมต่อไร่ ต ารับการทดลองที่ 2 ใส่ปุ๋ยหมักจาก

                       มูลโคนมอัตรา 2,000 กิโลกรัมต่อไร่ร่วมกับปุ๋ยเคมีสูตร 20-10-10 อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ ต ารับการ
                       ทดลองที่ 3  ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 20-10-10 อัตรา100 กิโลกรัมต่อไร่ และต ารับการทดลองที่  4 เป็นต ารับ
                       ควบคุมคือไม่ใส่ปุ๋ย ท าการปลูกพืชทดสอบอย่างต่อเนื่องกันในพื้นที่เดียวกัน เริ่มจากผักคะน้าเป็นพืช
                       แรก ผักชีเป็นพืชที่สอง และกวางตุ้งเป็นพืชสุดท้าย พบว่าน้ าหนักสดและน้ าหนักแห้งของผักคะน้า

                       ผักชี และกวางตุ้งทั้ง 4 ต ารับการทดลอง  มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญยิ่งทางสถิติ โดยพบว่า
                       ต ารับการทดลองที่ 3 ให้น้ าหนักสดและน้ าหนักแห้งของผักคะน้า ผักชี และกวางตุ้งสูงที่สุด ซึ่งน้ าหนัก
                       สดของผักทั้ง 3 ชนิดคือ 14,984 กิโลกรัมต่อไร่, 5,982.40 กิโลกรัมต่อไร่ และ 27,127  กิโลกรัมต่อไร่
                       ตามล าดับ ส่วนน้ าหนักแห้งของผักทั้ง 3 ชนิดได้แก่ 1,352 กิโลกรัมต่อไร่, 661.79 กิโลกรัมต่อไร่ และ

                       2,110  กิโลกรัมต่อไร่ ตามล าดับ ส่วนต ารับการทดลองที่ 4  มีน้ าหนักสดและแห้งต่ าที่สุดและไม่
                       แตกต่างกับต ารับการทดลองที่ 3  (เรวัฒน์ และคณะ, 2557)
                              ประสิทธิภาพของปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของผักคะน้ามี

                       วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของชนิดและอัตราการให้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงเปรียบเทียบกับปุ๋ยเคมีต่อ
                       การเจริญเติบโตและปริมาณผลผลิตของผักคะน้า โดยวางแผนการทดลองแบบ Factorial  in  CRD
                       เปรียบเทียบกับสิ่งทดลองควบคุม ประกอบด้วย 2 ปัจจัย ได้แก่ ชนิดของปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง คือ
                       ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง สูตร 1 กรมพัฒนาที่ดิน และมูลไก่หมักคุณภาพสูง และอัตราการใช้ปุ๋ยอินทรีย์
                       คุณภาพสูง 3 ระดับ คือ 1, 2.5 และ 5 กรัมไนโตรเจนต่อดิน 5 กิโลกรัม จากผลการทดลองพบว่าชนิด

                       ของปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง ท าให้ต้นผักคะน้ามีปริมาณน้ าหนัก  สดและน้ าหนักแห้งไม่แตกต่างกัน
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44