Page 24 - ศึกษาการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา และปูนโดโลไมท์ต่อการควบคุมปริมาณเชื้อราไฟทอฟธอราของปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียน
P. 24

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          13




                         2. การเตรียมวัสดุท าปุ๋ยหมัก
                                2.1  เปลือกทุเรียน น าวัสดุเปลือกทุเรียนมาย่อยให้มีขนาดประมาณ 2-5 เซนติเมตร จ านวน
                  น้ าหนัก 200 กิโลกรัมต่อกอง

                                2.2  มูลสัตว์ (มูลไก่ไข่) ใช้มูลไก่ไข่ อัตรา 40  กิโลกรัมต่อเปลือกทุเรียน 200  กิโลกรัม
                  (อัตรา 200 กิโลโลกรัมต่อวัสดุเปลือกทุเรียน 1 ตัน)
                                2.3 ปูนโดโลไมท์ ใส่วัสดุ 4 กิโลกรัม ต่อเปลือกทุเรียน 200 กิโลกรัม (อัตรา 20 กิโลกรัมต่อ
                  วัสดุเปลือกทุเรียน 1 ตัน)
                                2.4  น าเปลือกทุเรียนมาตั้งกองท าปุ๋ยหมัก ขนาดกว้าง 1.50 เมตร ยาว 2 เมตร สูง 30

                  เซนติเมตร น ามูลสัตว์ (มูลไก่ไข่) 40 กิโลกรัม มาผสมในกองปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียนทุกต ารับการทดลอง
                  ส่วนต ารับที่ 3 และ 4 ใส่ปูนโดโลไมท์ จ านวน 4 กิโลกรัม หว่านให้ทั่วกองแล้วคลุกเคล้ากองปุ๋ยหมัก
                  น าผ้าใบพลาสติกหรือตาข่ายกรองแสงคลุมกองปุ๋ยหมัก เพื่อลดการระเหยน้ า

                         3. การเตรียมหัวเชื้อราไฟทอฟธอรา
                                3.1  การขยายสปอร์เชื้อราไฟทอฟธอรา โดยการขยายเชื้อในสูตรอาหารวุ้น Gochenaur's
                  glucose  ammonium  nitrate  agar  (Gochenaur,  1964) บ่มที่อุณหภูมิห้องเป็นระยะเวลา 3 วัน เพื่อให้
                  เชื้อราไฟทอฟธอราเจริญเต็มจานอาหารเลี้ยงเชื้อ

                                3.2 การน าเชื้อราไฟทอฟธอราไปใส่ในกองปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียน น าเชื้อราไฟทอฟธอรา
                  ที่เจริญในรูปของสปอร์เต็มจานอาหารเลี้ยงเชื้อจ านวน 1 จาน (plate)  มาปั่นให้ละเอียดผสมกับน้ าเปล่า
                                                                 8
                  ปริมาณ 1 ลิตร ให้มีความเข็มข้นของสปอร์ไม่น้อยกว่า 10  โคโลนีสปอร์ต่อมิลลิลิตร แล้วน าน้ าที่มีสปอร์เชื้อรา
                  ที่ได้ มาเจือจางในน้ าเปล่า (dilute) ให้เป็นปริมาณ 10 ลิตร ใส่บัวรดน้ า รดให้ทั่วทั้งกองปุ๋ยหมักต ารับที่ 2 3

                  และ 4 ที่ระยะเวลาหมักปุ๋ย 7 วัน คลุกเคล้ากองปุ๋ยหมักทั่วกองให้สม่ าเสมอ
                         4. การเตรียมสปอร์เชื้อราไตรโคเดอร์มา
                                4.1  การขยายสปอร์เชื้อราไตรโคเดอร์มา โดยการขยายเชื้อในสูตรอาหารวุ้น Gochenaur's
                  glucose ammonium nitrate agar (Gochenaur, 1964) บ่มที่อุณหภูมิห้องเป็นระยะเวลา 3 วัน เพื่อให้เชื้อ

                  ราไตรโคเดอร์มาเจริญเต็มจานอาหารเลี้ยงเชื้อ
                                4.2 การเตรียมต้นตอเชื้อราไตรโคเดอร์มา โดยท าการเพิ่มปริมาณเชื้อในฟลาสต์  (flask)
                  ข้าวฟุางขนาด 250  มิลลิลิตร สูตรอาหารประกอบด้วย ข้าวฟุาง และร าหยาบ ในอัตราส่วน 4:1  ใส่น้ า 45

                  มิลลิลิตร เพื่อปรับความชื้น แล้วน าเข้าเครื่อง autoclave ภายใต้ความดัน 15 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว ที่อุณหภูมิ
                  121 องสาเซลเซียส เป็นเวลา 1 ชั่วโมง เพื่อท าให้ปลอดเชื้อและข้าวฟุางสุก จากนั้นให้น า flask ของข้าวฟุาง
                  ออกมาผึ่งให้อุณหภูมิลดลง บ่มไว้ที่อุณหภูมิห้องเป็นเวลา 3 วัน (เสียงแจ๋ว, 2549)
                                4.3  การเตรียมหัวเชื้อราไฟทอฟธอรารูปแบบผง โดยการเพิ่มปริมาณเชื้อราไตรโคเดอร์มา
                  ในข้าวฟุางและร าหยาบ ในอัตราส่วน 4:1 ซึ่งบรรจุในถุงพลาสติกร้อน มีวิธีเตรียมดังนี้ คือ เตรียม

                  ถุงพลาสติกร้อน ขนาด 8  x 12 นิ้ว โดยใช้ข้าวฟุางน้ าหนัก 45 กรัม ผสมกับร าหยาบ น้ าหนัก 9 กรัม ลงใน
                  ถุงร้อน และเติมน้ า 45 มิลลิลิตร แล้วน าไปนึ่งฆ่าเชื้อที่อุณหภูมิ 121 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1 ชั่วโมง จากนั้น
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29