Page 32 - ผลของปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงและปุ๋ยเคมีสูตรต่าง ๆ ต่อการปลูกคะน้าในชุดดินบางกอก
P. 32
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
22
3.3.1 วัดการเจริญเติบโตของคะน้า โดยการสุ่มต้นคะน้า จ านวน 10 ต้นต่อแปลงย่อย
ทุกวิธีการทดลอง บันทึกข้อมูลทุก 7 วัน ตั้งแต่ 7 14 21 28 35 และ 42 วัน หลังย้ายปลูกจนถึงระยะเก็บเกี่ยว ดังนี้
1) ความสูงต้นคะน้า โดยวัดจากโคนต้น ตั้งแต่ข้อใบเลี้ยง ถึงปลายใบที่ยาวที่สุด
2) ความกว้างใบคะน้า โดยวัดส่วนที่กว้างที่สุดของใบจากใบที่มีขนาดใหญ่สุด
3) ความยาวใบคะน้า โดยวัดส่วนที่ยาวที่สุดของใบจากใบที่มีความยาวที่สุด
3.3.2 จ านวนใบคะน้า สุ่มนับจ านวนใบคะน้าจ านวน 10 ต้นและหาค่าเฉลี่ย โดยนับ
จ านวนใบจริงที่แผ่เต็มที่แล้วบนต้นคะน้า โดยท าเครื่องหมายต้นที่ท าการบันทึกข้อมูล ตลอดการ
ทดลองในพื้นที่ 1 ตารางเมตร
3.3.3 น้ าหนักสดต่อต้น (กรัม) สุ่มเก็บชั่งน้ าหนักต้นสด จ านวน 10 ต้นเฉพาะส่วนของ
ล าต้นที่อยู่เหนือดิน และหาค่าเฉลี่ยเป็นน้ าหนักต่อต้น (กรัม) ที่อายุการเก็บเกี่ยว 42 วัน
3.3.4 ผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) สุ่มเก็บชั่งน้ าหนักผลผลิตคะน้าในพื้นที่ 1 ตารางเมตร
ที่อายุการเก็บเกี่ยว 42 วัน และค านวณเป็นผลผลิตต่อไร่
3.3.5 ข้อมูลผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ เก็บบันทึกข้อมูลรายละเอียด ค่าใช้จ่ายและ
รายได้ เพื่อค านวณผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ
4. การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ
วิเคราะห์ความแปรปรวนทางสถิติ (Analysis of Variance: ANOVA) ของสมบัติทางเคมี
ของดินหลังการทดลอง การเจริญเติบโต และผลผลิตของคะน้า ได้แก่ ความสูง ความกว้างของใบ
ความยาวใบ จ านวนใบ น้ าหนักสดต่อต้น และผลผลิตต่อไร่ ตามแผนการทดลองแบบสุ่มบล็อกสมบูรณ์
(Randomized Complete Block Design, RCBD) และเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย โดยวิธี
,
Duncans Multiple Range Test (DMRT)