Page 37 - ผลของปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงและปุ๋ยเคมีสูตรต่าง ๆ ต่อการปลูกคะน้าในชุดดินบางกอก
P. 37
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
27
ตารางที่ 2 ผลของปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงและปุ๋ยเคมีสูตรต่างๆ ต่อสมบัติทางเคมีบางประการ
ในดินหลังการทดลองปี 2557
pH EC 1: 5 OM Avai . P Avai . K
วิธีการทดลอง
-
1:1 (dS/m) (%) (mg/kg) (mg/kg)
ดินก่อนการทดลอง 5.48 1.99 2.28 77 280
หลังการทดลอง
c
a
ไม่ใส่ปุ๋ย 5.98 0.88 2.10 66 242
bc
a
ปุ๋ยเคมี 15-15-15 อัตรา 34 กิโลกรัมต่อไร่ 5.68 0.69 2.21 82 245
a
ab
ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ 5.90 1.00 2.47 72 272
c
b
ปุ๋ยเคมี 46-0-0 อัตรา 44 กิโลกรัมต่อไร่ 4.75 0.89 2.17 59 218
ปุ๋ยเคมีตามวิธีเกษตรกร 25-7-7 อัตรา 160 5.58 0.87 2.23 95 285
a
a
กิโลกรัมต่อไร่
เฉลี่ย 5.58 0.87 2.24 75 252
F-test ** ns ns ns **
C.V. (%) 5.58 27.30 17.29 26.62 7.27
หมายเหตุ : ns ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ
** แตกต่างอย่างมีนัยส าคัญยิ่งทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99 เปอร์เซ็นต์
ตัวอักษรที่เหมือนกันในสดมภ์เดียวกันไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ
โดยการใช้ DMRT
1.2 การเจริญเติบโต องค์ประกอบผลผลิต และผลผลิตคะน้า
1.2.1 ความสูงของคะน้า จากการทดลองพบว่า การใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงและปุ๋ยเคมีสูตรต่างๆ
มีผลให้ความสูงคะน้าที่อายุ 7 วัน ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ แต่มีผลให้ความสูงต้นคะน้าที่อายุ 21 และ 35
วัน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ และความสูงต้นคะน้าที่อายุ 14, 28 และ 42 วัน มีความแตกต่าง
กันอย่างมีนัยส าคัญยิ่งทางสถิติ กล่าวคือ การใส่ปุ๋ยเคมีตามวิธีเกษตรกร สูตร 25-7-7 อัตรา 160 กิโลกรัมต่อไร่ มี
ผลให้ความสูงต้นคะน้าที่อายุ 42 วันหลังปลูกมีค่าความสูงต้นคะน้าเฉลี่ยสูงสุด เท่ากับ 12.18 เซนติเมตร ไม่
แตกต่างกับการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน สูตร 46-0-0 อัตรา 44 กิโลกรัมต่อไร่ ที่มีความสูงรองลงมาคือ 11.16
เซนติเมตร และแตกต่างกับการใส่ปุ๋ยเคมีตามค าแนะน าของกรมวิชาการเกษตร สูตร 15-15-15 อัตรา 34 กิโลกรัม
ต่อไร่ การใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง (ไนโตรเจน) อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ มีผลให้คะน้ามีความสูงเฉลี่ย 10.44 และ
9.94 เซนติเมตร ตามล าดับ และการไม่ใส่ปุ๋ย มีความสูงต้นคะน้าเฉลี่ยต่ าสุด 9.10 เซนติเมตร
(ตารางที่ 3)