Page 27 - ผลของปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงและปุ๋ยเคมีสูตรต่าง ๆ ต่อการปลูกคะน้าในชุดดินบางกอก
P. 27

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        17







                               อริสสรา และคณะ (2557) ได้ท าการศึกษาผลการใช้วัสดุอินทรีย์และระบบการไม่ไถพรวน
                       ต่อการเปลี่ยนแปลงสมบัติดินบางประการในดินนาเค็มน้อย พบว่า การใช้วัสดุอินทรีย์ร่วมกับระบบ

                       การไม่ไถพรวนท าให้ความเค็มของดินลดลง ปริมาณอินทรียวัตถุในดินมีค่าเพิ่มขึ้น   45-46 เปอร์เซ็นต์
                       และมีวัสดุอินทรีย์สะสมในดินเพิ่มขึ้น ดังนั้นการใส่วัสดุอินทรีย์ร่วมกับการไม่ไถพรวนท าให้ดินเค็มมี

                       สมบัติดีขึ้นเหมาะสมต่อการปลูกข้าว
                               อโนชา และ กมลาภา  (2553) ได้ศึกษาผลของการปรับปรุงบ ารุงดินต่อการเจริญเติบโต

                       และผลผลิตของคะน้า แตงกวา และ ถั่วฟักยาว ที่ปลูกบนดินถมที่เกิดจากตะกอนดินชั้นล่าง พบว่า

                       การใส่ปุ๋ยหมัก 4 ตันต่อไร่ ร่วมกับน้ าหมักชีวภาพและปุ๋ยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามค าแนะน า ท าให้
                       พืชผักที่ปลูกมีการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตรวมของพืชผักเฉลี่ย 2 ปี สูงสุด จ านวน 2,935.16

                       กิโลกรัมต่อไร่ ส่วนการใส่ปุ๋ยเคมีตามค าแนะน าให้ผลผลิตรวมของพืชผักเฉลี่ย 2,181.06 กิโลกรัมต่อ

                       ไร่ ใกล้เคียงกับการใส่ปุ๋ยพืชสดร่วมกับน้ าหมักชีวภาพละปุ๋ยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามค าแนะน า ที่ให้ผล
                       ผลิตพืชผักรวมเฉลี่ยต่ าสุด 2,164.87 กิโลกรัมต่อไร่ ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ พบว่า การใส่ปุ๋ยหมัก

                       4 ตันต่อไร่ ร่วมกับน้ าหมักชีวภาพและปุ๋ยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามค าแนะน าให้ผลตอบแทนทาง
                       เศรษฐกิจเฉลี่ย 2 ปี สูงสุดให้ผลตอบแทนจ านวน 14,278.69 บาทต่อไร่
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32