Page 30 - ผลของปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงและปุ๋ยเคมีสูตรต่าง ๆ ต่อการปลูกคะน้าในชุดดินบางกอก
P. 30
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
20
สม่ าเสมอ แล้วยกร่องแปลงปลูกขนาด กว้าง 2 เมตร ยาว 4 เมตร จ านวน 20 แปลงย่อย ขุดและย่อย
ดินพร้อมพรวนดิน
2.3 เตรียมเมล็ดพันธุ์ โดยใช้พันธุ์ บางบัวทอง 35 ในการทดลองทั้ง 2 ปีการทดลอง
และเพาะกล้าในถาดหลุม อายุกล้า 20 วัน จึงย้ายปลูกในแปลงที่เตรียมไว้ โดยมีระยะระหว่างต้น 15
เซนติเมตร ระหว่างแถว 20 เซนติเมตร จ านวน 260 ต้นต่อแปลงย่อย
2.4 การผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง (สูตรไนโตรเจน)
2.4.1 การจัดเตรียมวัตถุดิบและขั้นตอนการผลิต
1) วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง (สูตรไนโตรเจน) จ านวน
100 กิโลกรัม ประกอบด้วย กากถั่วเหลืองจ านวน 60 กิโลกรัม มูลไก่จ านวน 40 กิโลกรัม กากน้ าตาล
จ านวน 5 กิโลกรัมส าหรับขยายเชื้อด้วยสารเร่งซุปเปอร์ พด.2 และสารเร่งซุปเปอร์ พด.1 จ านวน 1
ซอง (50 กรัม)
2) วิธีการขยายเชื้อด้วยสารเร่งซุปเปอร์ พด.2 จ านวน 50 ลิตร มีวิธีการดังนี้
- น ากากน้ าตาล จ านวน 5 กิโลกรัมเจือจางด้วยน้ าเปล่า จ านวน 50 ลิตร คนให้ทั่วถัง
- ปิดฝาถัง เก็บไว้ในที่ร่ม นาน 5 วัน (เตรียมไว้ส าหรับผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง)
2.4.2 ขั้นตอนการผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง ดังนี้
1) น ากากถั่วเหลือง จ านวน 60 กิโลกรัม และมูลไก่จ านวน 40 กิโลกรัม
ผสมคลุกเคล้าให้เข้ากันทั่วกองปุ๋ย
2) น าสารเร่งซุปเปอร์ พด.1 ที่เตรียมไว้ เทลงในสารเร่งซุปเปอร์ พด.2 ที่
ขยายเชื้อแล้ว จ านวน 30 ลิตร คนให้เข้ากันนาน 10 นาที แล้วน าไปรดลงบนกองวัสดุที่ผสมเรียบร้อย
แล้วปรับความชื้นในกองปุ๋ยเท่ากับ 60 เปอร์เซ็นต์ โดยคลุกเคล้าให้ทั่วเพื่อให้มีความชื้นสม่ าเสมอทั่ว
กองปุ๋ย
3) ตั้งกองปุ๋ยหมักเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า สูง 30 เซนติเมตร และใช้วัสดุคลุมกอง
ปุ๋ยเพื่อรักษาความชื้นกองปุ๋ยหมัก ควบคุมความชื้นในกองปุ๋ยให้เท่ากับ 60 เปอร์เซ็นต์
4) หลังหมักปุ๋ยนาน 2 สัปดาห์ หรือจนกว่าอุณหภูมิในกองปุ๋ยหมักลดลง
เท่ากับอุณหภูมิภายนอกกองปุ๋ย จึงน าไปใช้ได้
5) ส่งตัวอย่างปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงที่ผ่านการย่อยสลายที่สมบูรณ์แล้ว เพื่อ
วิเคราะห์ธาตุอาหาร ปุ๋ยที่ผลิตได้เก็บในกระสอบมัดปากถุงให้แน่น วางไว้ในที่ร่มมีหลังคาไม่ให้ถูกแดด
และฝนเพื่อเก็บปุ๋ยไว้ใช้ในการทดลองปีที่ 2
ผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงครั้งเดียว เนื่องจากปุ๋ยที่ใช้ในการทดลองวิธีการใส่ปุ๋ย
อินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ มีปริมาณน้อยเท่ากับ 0.06 กิโลกรัมต่อตารางเมตร และ
ได้ผลิตไว้ใช้ทั้ง 2 ปีการทดลอง เนื่องจากการผลิตปุ๋ยในแต่ละครั้งจะมีปริมาณธาตุอาหารที่ต่างกัน